ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศเอธิโอเปีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nallimbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต: แก้ไขจาก ckb:ئەتیۆپیا ไปเป็น ckb:ئیتیۆپیا
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
บรรทัด 97: บรรทัด 97:


== เศรษฐกิจ ==
== เศรษฐกิจ ==
เอธิโอเปียเป็นประเทศด้อยพัฒนาและยากจนที่สุดอีกประเทศหนึ่งในทวีปแอฟริกาประชาชนส่วนใหญ่ยากจนมีรายได้ประชาชาติต่อหัวเพียง 210 ดอลลาร์สหรัฐเท่านั้นอัตตราเงินเฟ้อสูงถึงร้อยละ 17.2อีกทั้งยังมีปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง รวมถึงสงครามกับกลุ่มหัวรุนแรงในโซมาเลียและปัญหาชายแดนกับเอริเทียที่ไม่มีแนวโน้มยุติลงได้
{{โครงส่วน}}
รายได้สําคัญสําคัญของประเทศมาจากเกษตรกรรม ที่มีสัดส่วนร้อยละ 60 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมดพืชเศรษฐกิจสําคัญได้แก่ กาแฟ แต่ถึงอย่างนั้นก็ประสบปัญหาอย่างมากทั้งที่ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ พื้นที่เพาะปลูกที่มีจํานวนน้อย ระบบชลประทานที่ขาดประสิทธิภาพทําให้ต้องพึ่งนํ้าตามธรรมชาติเป็นหลักและความรู้ด้านเทคโนโลยีทางการเกษตร ส่วนใหญ่จึงเป็นการเพาะปลูกแบบดั้งเดิมที่ล้าสมัย
หลังจากเปลี่ยนการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยรัฐบาลใหม่มีความพยายามในการปฏิรูปเศรษฐกิจโดยดําเนินนโยบายเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเน้นด้านการบริการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวเนื่องจากมีปัจจัยเอื้ออํานวยทั้งโบราณสถานและสัตว์ป่านานาชนิดรวมถึงการก่อสร้างและการคมนามคมทําให้มีภาคบริการที่มีสัดส่วนร้อยละ 41.2ของรายได้ประชาชาติ แต่เนื่องจากไม่มีการบริหารจัดการที่ดีทําให้การท่องเที่ยวยังไม่ดีเท่าที่ควร อีกททั้งยังล้าหลังประเทศเคนย่าที่เน้นการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติเช่นเดียวกัน
ปัจจุบันรัฐบาลได้เน้นการปฏิรูปเศรษฐกิจเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ พัฒนาอุสาหกรรมการเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหาร ที่เคยประสบปัญหาความอดอยากที่ทําให้ชาวเอธิโอเปียจํานวนมากเสียชีวิต

สินค้าส่งออกสําคัญ ได้แก่ ทองคํา และ ผลิตภัณฑ์เครื่องหนัง ตลาดส่งออกสําคัญได้แก่ อิตาลี เยอรมนี สหรัฐอเมริกา ซาอุดิอารเบีย ญี่ปุ่นจีนเนเธอร์แลนด์ และ จิบูตี

สินค้านําเข้าสําคัญได้แก่อาหาร สัตว์ที่มีชีวิตนํ้ามันผลิตภัณฑ์ปิโตรเลี่ยมเคมีภัณฑ์ พาหนะ ธัญพืชและสิ่งทอ ตลาดนําเข้าที่สําคัญได้แก่ ซาอุดิอารเบีย อิจาลี และจีน

ผลผลิตสําคัญ ได้แก่ กาแฟ ข้าวโพด ข้าวบาร์เลย์ ข้างฟ่าง อ้อย หนังสัตว์ ทองคํา โพแทชและแพลทินั่ม


== ประชากร ==
== ประชากร ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:44, 1 มีนาคม 2556

สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเอธิโอเปีย

ตราแผ่นดินของเอธิโอเปีย
ตราแผ่นดิน
คำขวัญไม่มี
เพลงชาติMarch Forward, Dear Mother Ethiopia: เดินก้าวไปข้างหน้า เอธิโอเปียที่รัก
ที่ตั้งของเอธิโอเปีย
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
แอดดิสอาบาบา
ภาษาราชการภาษาอัมฮารา
การปกครองสาธารณรัฐ
• ประธานาธิบดี
กีร์มา โวลเด-กีออร์กิส
• นายกรัฐมนตรี
Haile Mariam Desalegne
(รักษาการ)
การก่อตั้ง
• อาณาจักรดั้งเดิม
980 ปีก่อนคริสต์ศักราช
พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991)
พื้นที่
• รวม
1,127,127 ตารางกิโลเมตร (435,186 ตารางไมล์) (อันดับที่ 16)
0.7
ประชากร
• 2554 ประมาณ
82,101,998 คน[1] (อันดับที่ 14)
• สำมะโนประชากร 2550
73,918,505 คน
74 ต่อตารางกิโลเมตร (191.7 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 123)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2553 (ประมาณ)
• รวม
86.123 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[2]
1,015 ดอลลาร์สหรัฐ[2]
จีดีพี (ราคาตลาด) 2553 (ประมาณ)
• รวม
29.717 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[2]
350 ดอลลาร์สหรัฐ[2]
จีนี (2542–2543)30
ปานกลาง
เอชดีไอ (2553)เพิ่มขึ้น 0.328
ข้อผิดพลาด: ค่า HDI ไม่ถูกต้อง · อันดับที่ 157
สกุลเงินเบอร์ (ETB)
เขตเวลาUTC+3 (EAT)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+3 (ไม่ใช้)
ขับรถด้านขวามือ
รหัสโทรศัพท์251
โดเมนบนสุด.et

เอธิโอเปีย (อังกฤษ: Ethiopia; อัมฮารา: ኢትዮጵያ) หรือชื่อทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเอธิโอเปีย (Federal Democratic Republic of Ethiopia; อัมฮารา: የኢትዮጵያ ፌዴራላዊ ዲሞክራሲያዊ ሪፐብሊክ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ตั้งอยู่ในส่วนแหลมของทวีปแอฟริกา (Horn of Africa) เป็นหนึ่งในชาติที่มีประวัติศาสตร์อันต่อเนื่องยาวนานที่สุดบนทวีปนี้ ในฐานะชาติอิสระ เอธิโอเปียเป็นประเทศเดียวในแอฟริกาที่ยังคงเอกราชระหว่างยุคล่าอาณานิคมในแอฟริกา (Scramble for Africa) และยังคงเอกราชไว้จนถึง พ.ศ. 2479 ซึ่งกองทัพอิตาลีเข้ายึดครองประเทศนี้ กองทัพอังกฤษและเอธิโอเปียปราบกองทัพอิตาลีในพ.ศ. 2484 แต่เอธิโอเปียไม่ได้รับเอกราชใหม่จนถึงการลงนามในสนธิสัญญาระหว่างอังกฤษกับเอธิโอเปีย (Anglo-Ethiopian Agreement) เมื่อธันวาคม พ.ศ. 2487

ประวัติศาสตร์

เอธิโอเปียเป็นดินแดนที่ได้รับอารยธรรมจากอียิปต์และกรีกตั้งแต่สมัยโบราณ อิตาลีโจมตีเอธิโอเปียเมื่อ พ.ศ. 2479 และเข้าครอบครองได้สำเร็จใน พ.ศ. 2484 จักรพรรดิองค์สุดท้ายของเอธิโอเปีย เฮลี เซลาสซีที่ 1 เป็นผู้จัดตั้งระบบรัฐสภาเมื่อ พ.ศ. 2474

ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 เกิดความแห้งแล้งอย่างต่อเนื่องจนเกิดความวุ่นวายภายในประเทศ จักรพรรดิเซลาสซีสละราชบัลลังก์เมื่อ พ.ศ. 2517 เปลี่ยนการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐเมื่อ พ.ศ. 2518 นอกจากนั้นยังเกิดสงครามภายในระหว่างกลุ่มการเมืองและเผ่าต่าง ๆ ที่ได้รับการสนับสนุนจากซูดานและโซมาเลีย พ.ศ. 2521 เอธิโอเปียได้รับความช่วยเหลือจากสหภาพโซเวียตจนรบชนะทหารโซมาเลีย และมีการลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพระหว่างกันเมื่อ พ.ศ. 2531

การเมือง

การแบ่งเขตการปกครอง

ประเทศเอธิโอเปียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 9 เขตบริหาร (administrative countries-kililoch) แบ่งย่อยออกมาเป็น 68 เขต และ 2 นครอิสระ (chartered cities-astedader akababiwoch) ได้แก่

สภาพทางภูมิศาสตร์

มีสภาพเป็นหุบเขาสูงชันและที่ราบสูง

เศรษฐกิจ

เอธิโอเปียเป็นประเทศด้อยพัฒนาและยากจนที่สุดอีกประเทศหนึ่งในทวีปแอฟริกาประชาชนส่วนใหญ่ยากจนมีรายได้ประชาชาติต่อหัวเพียง 210 ดอลลาร์สหรัฐเท่านั้นอัตตราเงินเฟ้อสูงถึงร้อยละ 17.2อีกทั้งยังมีปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง รวมถึงสงครามกับกลุ่มหัวรุนแรงในโซมาเลียและปัญหาชายแดนกับเอริเทียที่ไม่มีแนวโน้มยุติลงได้ รายได้สําคัญสําคัญของประเทศมาจากเกษตรกรรม ที่มีสัดส่วนร้อยละ 60 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมดพืชเศรษฐกิจสําคัญได้แก่ กาแฟ แต่ถึงอย่างนั้นก็ประสบปัญหาอย่างมากทั้งที่ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ พื้นที่เพาะปลูกที่มีจํานวนน้อย ระบบชลประทานที่ขาดประสิทธิภาพทําให้ต้องพึ่งนํ้าตามธรรมชาติเป็นหลักและความรู้ด้านเทคโนโลยีทางการเกษตร ส่วนใหญ่จึงเป็นการเพาะปลูกแบบดั้งเดิมที่ล้าสมัย หลังจากเปลี่ยนการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยรัฐบาลใหม่มีความพยายามในการปฏิรูปเศรษฐกิจโดยดําเนินนโยบายเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเน้นด้านการบริการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวเนื่องจากมีปัจจัยเอื้ออํานวยทั้งโบราณสถานและสัตว์ป่านานาชนิดรวมถึงการก่อสร้างและการคมนามคมทําให้มีภาคบริการที่มีสัดส่วนร้อยละ 41.2ของรายได้ประชาชาติ แต่เนื่องจากไม่มีการบริหารจัดการที่ดีทําให้การท่องเที่ยวยังไม่ดีเท่าที่ควร อีกททั้งยังล้าหลังประเทศเคนย่าที่เน้นการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติเช่นเดียวกัน ปัจจุบันรัฐบาลได้เน้นการปฏิรูปเศรษฐกิจเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ พัฒนาอุสาหกรรมการเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหาร ที่เคยประสบปัญหาความอดอยากที่ทําให้ชาวเอธิโอเปียจํานวนมากเสียชีวิต

สินค้าส่งออกสําคัญ ได้แก่ ทองคํา และ ผลิตภัณฑ์เครื่องหนัง ตลาดส่งออกสําคัญได้แก่ อิตาลี เยอรมนี สหรัฐอเมริกา ซาอุดิอารเบีย ญี่ปุ่นจีนเนเธอร์แลนด์ และ จิบูตี

สินค้านําเข้าสําคัญได้แก่อาหาร สัตว์ที่มีชีวิตนํ้ามันผลิตภัณฑ์ปิโตรเลี่ยมเคมีภัณฑ์ พาหนะ ธัญพืชและสิ่งทอ ตลาดนําเข้าที่สําคัญได้แก่ ซาอุดิอารเบีย อิจาลี และจีน

ผลผลิตสําคัญ ได้แก่ กาแฟ ข้าวโพด ข้าวบาร์เลย์ ข้างฟ่าง อ้อย หนังสัตว์ ทองคํา โพแทชและแพลทินั่ม

ประชากร

กลุ่มชาติพันธุ์

และชาติพันธุ์อื่น ๆ อีกร้อยละ 11[3][4]

ศาสนา

จากการสำรวจสำมะโนประชากรปี พ.ศ. 2550 พบว่าชาวเอธิโอเปียร้อยละ 62.8 นับถือศาสนาคริสต์ (ในจำนวนนี้เป็นผู้นับถือนิกายเอธิโอเปียนคอปติกออร์ทอดอกซ์ร้อยละ 43.5 และนิกายอื่น ๆ ร้อยละ 19.3), ร้อยละ 33.9 นับถือศาสนาอิสลาม, ร้อยละ 2.6 นับถือความเชื่อดั้งเดิม และร้อยละ 0.6 นับถือศาสนาอื่น ๆ[3]

วัฒนธรรม

อ้างอิง

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ CSA
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 "Ethiopia". International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 2011-04-21.
  3. 3.0 3.1 Berhanu Abegaz, Ethiopia: A Model Nation of MinoritiesPDF (51.7 KB) . Retrieved 6 April 2006. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "bx" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  4. Embassy of Ethiopia, Washington, DC. Retrieved 6 April 2006.


แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link GA