ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถิติศาสตร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต: แก้ไขจาก ext:Estadística ไปเป็น ext:Estaística
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต: แก้ไขจาก tl:Estadistika ไปเป็น tl:Palautatan
บรรทัด 138: บรรทัด 138:
[[tg:Омор]]
[[tg:Омор]]
[[tk:Statistika]]
[[tk:Statistika]]
[[tl:Estadistika]]
[[tl:Palautatan]]
[[tr:İstatistik]]
[[tr:İstatistik]]
[[uk:Статистика]]
[[uk:Статистика]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:12, 1 มีนาคม 2556

สถิติศาสตร์ (อังกฤษ: Statistics) คือศาสตร์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างความรู้จากข้อมูล ที่ได้เก็บรวบรวมมา (หรือเรียกว่าเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์) ที่อยู่ในรูปของข้อมูลเชิงเลข พื้นฐานของสาขานี้คือทฤษฎีสถิติซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์เชิงประยุกต์ ในทฤษฎีสถิติ ความสุ่มและความไม่แน่นอนจะถูกจำลองโดยทฤษฎีความน่าจะเป็น เนื่องจากเป้าหมายหนึ่งของสถิติศาสตร์คือการสร้างสารสนเทศที่ดีที่สุดจากข้อมูลที่มีอยู่ หลายคนจึงจัดให้สถิติศาสตร์เป็นสาขาหนึ่งของทฤษฎีการตัดสินใจ แนวปฏิบัติทางสถิตินั้นรวมถึงการวางแผน, การสรุปย่อ, และการตีความผลการสังเกต ที่ยอมรับความเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนได้

State หมายถึง ข้อมูลเพื่อรัฐ

ความหมายของสถิติ มีอยู่ 2 นิยามคือ

  1. ข้อเท็จริงที่เป็นตัวเลข Numberical fact หรือข้อความที่เกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆ ที่เราสนใจหรืออยู่รอบๆตัวที่ได้รวบรวมไว้ทั้งที่เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น
  2. ศาสตร์วิชาที่เกี่ยวข้องกับทษฏีและระเบียบวิธี ว่าด้วยการเก็บรวมรวมข้อมูลการประมวลผล การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปและการตีความของข้อมูล

ระเบียบวิธีทางสถิติ Statistiel Methods

  • การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection
  • การนำเสนอข้อมูล Data Presentation
  • การวิเคราะห์ข้อมูล Data Analysis
  • การตีความหมายข้อมูล Data Interpretation

ประโชยน์ของสถิติ

  • ประโยชน์ในระดับบุคคล
  • ประโยชน์ในระดับครัวเรือน
  • ประโยชน์ในระดับหน่วยงานธุรกิจเอกชน
  • ประโยชน์ในระดับประเทศ

ประเภทของสถิติ

  • สถิติพรรณนา Descriptive Statistice

สถิติที่ว่าด้วยระเบียบวิธี เพื่อแสดงลักษณะของกลุ่มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเท่านั้น ไม่สามารถอ้างอิงลักษณะที่ได้ไปยังกลุ่มอื่น

  • สถิติอ้างอิง Inferential Statistics

สถิติที่ว่าด้วยระเบียบวิธี แต่ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง แล้วนำผลที่ได้ไปสรุปอ้างอิงประชากรได้


แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA