ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: eu:Espresionismo
Ptbotgourou (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: ur:اظہاریت
บรรทัด 96: บรรทัด 96:
[[tr:Dışavurumculuk]]
[[tr:Dışavurumculuk]]
[[uk:Експресіонізм]]
[[uk:Експресіонізм]]
[[ur:اظہاریت]]
[[vi:Chủ nghĩa biểu hiện]]
[[vi:Chủ nghĩa biểu hiện]]
[[zea:Expressionisme]]
[[zea:Expressionisme]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:11, 1 มีนาคม 2556

หอไอน์ไอน์สไตน์ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมเอกซเพรสชันนิซึมที่พอร์ทสดัมในเยอรมนี

เอกซเพรสชันนิซึม หรือ ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์[1] (อังกฤษ: Expressionism) คือขบวนการทางวัฒนธรรมที่เริ่มขึ้นในเยอรมนีเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่เป็นปฏิกิริยาต่อปฏิฐานนิยม (positivism) และ ขบวนการศิลปะอื่นๆ เช่นธรรมชาตินิยม (Naturalism) และ ศิลปะอิมเพรสชันนิสม์[2] It sought to express the meaning of "being alive"[3] วัตถุประสงค์ของขบวนการนี้ก็เพื่อการแสวงหาความหมายของ "ความรู้สึกมีชีวิตชีวา" (being alive)[3] และประสบการณ์ทางอารมณ์แทนความเป็นจริงทางวัตถุ[3][4] แนวโน้มของศิลปินกลุ่มนี้จะบิดเบือนความเป็นจริงเพื่อที่จะแสดงผลที่มีต่ออารมณ์ และเป็นศิลปะอัตวิสัย (subjective art form) เอกซเพรสชันนิซึมปรากฏในงานศิลปะหลายรูปหลายแบบที่รวมทั้ง จิตรกรรม, วรรณกรรม, การละคร, ภาพยนตร์, สถาปัตยกรรม และ ดนตรี และมักจะเป็นคำที่มีนัยยะถึงอารมณ์รุนแรงภายใน (angst) โดยทั่วไปแล้วจิตรกรเช่นแม็ทไทอัส กรึนวอลด์ และ เอลเกรโกก็อาจจะเรียกได้ว่าเป็นจิตรกรเอกซเพรสชันนิซึม แม้ว่าจะเป็นคำที่มักจะใช้กับงานศิลปะของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ก็ตาม

อ้างอิง

  1. "ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน"
  2. Garzanti, Aldo (1974) [1972]. Enciclopedia Garzanti della letteratura (ภาษาItalian). Milan: Guido Villa. p. 963.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์) page 241
  3. 3.0 3.1 3.2 Victorino Tejera, 1966, pages 85,140, Art and Human Intelligence, Vision Press Limited, London
  4. The Oxford Illustratd Dictionary, 1976 edition, page 294

ดูเพิ่ม

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ จิตรกรรมเอกซเพรสชันนิซึม


แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA