ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JackieBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: kk:АҚШ сыртқы кіші аралдары
SassoBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: simple:United States Minor Outlying Islands
บรรทัด 106: บรรทัด 106:
[[ru:Внешние малые острова США]]
[[ru:Внешние малые острова США]]
[[rw:Ibirwa Bito Bikikije Leta Zunze Ubumwe]]
[[rw:Ibirwa Bito Bikikije Leta Zunze Ubumwe]]
[[simple:United States Minor Outlying Islands]]
[[sk:Menšie odľahlé ostrovy USA]]
[[sk:Menšie odľahlé ostrovy USA]]
[[sv:Förenta staternas mindre öar i Oceanien och Västindien]]
[[sv:Förenta staternas mindre öar i Oceanien och Västindien]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:23, 26 กุมภาพันธ์ 2556

เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา

United States
Minor Outlying Islands
(อังกฤษ)
ธงชาติเกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา
ธงชาติ
ตราแผ่นดินของเกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา
ตราแผ่นดิน
คำขวัญIn God We Trust (ทางการ)
("เราเชื่อในพระเจ้า")
ละติน: E pluribus unum (ดั้งเดิม)
("จากหลากหลายรวมเป็นหนึ่ง")
ที่ตั้งของเกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา
เมืองหลวงไม่มี บริหารโดยวอชิงตัน ดี.ซี.
หมู่บ้านใหญ่สุดเกาะเวก
ภาษาราชการภาษาอังกฤษ
เดมะนิมAmerican, Islander
รัฐบาล
บารัก โอบามา
• ผู้ว่าการ
ไม่มี
• รองผู้ว่าการ
ไม่มี
พื้นที่
• รวม
34.2 ตารางกิโลเมตร (13.2 ตารางไมล์) (190)
88.6
ประชากร
• พ.ศ. 2552 ประมาณ
300 (232)
• สำมะโนประชากร พ.ศ. 2543
316
[convert: %s]%s (n/a)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2003 (ประมาณ)
• รวม
n/a (พ.ศ. 2548)1 (n/a)
46,381 (U.S.)(พ.ศ. 2548)1 (6)
สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ ($) (USD)
เขตเวลาUTC−12 ถึง −4 (UTC−12 ถึง UTC−4)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
(ไม่ใช้เวลาออมแสง)
รหัสโทรศัพท์+1
โดเมนบนสุด.us
.um ยกเลิกเมื่อ พ.ศ. 2551
  1. ประมาณการเมื่อ พ.ศ. 2543

เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา (อังกฤษ: United States Minor Outlying Islands) เป็นชื่อเรียกขานเชิงสถิติซึ่งกำหนดโดยรหัสประเทศ ISO 3166-1 ขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ประกอบด้วยพื้นที่โดดเดี่ยวของสหรัฐอเมริกาเก้าแห่งในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ได้แก่ เกาะเบเกอร์ เกาะฮาวแลนด์ เกาะจาร์วิส จอห์นสตันอะทอลล์ คิงแมนรีฟ มิดเวย์อะทอลล์ เกาะนาวาสซา แพลไมราอะทอลล์ และเกาะเวก ส่วนดินแดนแคริบเบียน บาโฮนวยโวแบงก์และเซร์รานียาแบงก์ ก็ถูกรวมเข้ามาโดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกาเช่นกัน แต่การอ้างสิทธิ์ยังคงเป็นข้อพิพาทกับประเทศอื่น

ในจำนวนนี้ แพลไมราอะทอลล์เท่านั้นที่เป็นดินแดนที่ผนวกเข้ากับสหรัฐอเมริกา เกาะเหล่านี้ไม่มีเกาะใดที่ประชากรอาศัยอยู่อย่างถาวรจนถึง พ.ศ. 2551 ประชากรมนุษย์มีเพียงบุคลากรทางทหารและทางวิทยาศาสตร์ที่ประจำการอยู่ การสำรวจสำมะโนครัว พ.ศ. 2543 พบว่าจอห์นสตันอะทอลล์มีประชากร 315 คนและเกาะเวก 1 คน [1] เคยมีชนพื้นเมืองอาศัยอยู่เมื่อครั้งการสำรวจสำมะโนครัว พ.ศ. 2483 แต่ปัจจุบันไม่มีอยู่แล้ว เมื่อ พ.ศ. 2479 แผนการล่าอาณานิคมทำให้ชาวอเมริกันย้ายมาตั้งถิ่นฐานบนเกาะเบเกอร์ เกาะฮาวแลนด์ และเกาะจาร์วิส แต่หลังจากนั้นชาวอเมริกันบนเกาะทั้งสามก็อพยพออกไปหมดเมื่อ พ.ศ. 2485 เนื่องจากผลพวงของสงครามโลกครั้งที่สอง [2][3]

เกาะต่าง ๆ เหล่านี้รวมกลุ่มกันเพื่อความสะดวกในทางสถิติ มิได้มีการบริหารอย่างเป็นกลุ่ม หรือแบ่งปันประวัติศาสตร์ทางวัฒนธรรมและการเมืองร่วมกัน มากไปกว่าความเป็นเกาะร้างภายใต้อำนาจอธิปไตยของสหรัฐอเมริกา

อ้างอิง