ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชุดตัวอักษรอุยกูร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: tr:Uygur alfabesi
Sz-iwbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: it:Alfabeto uiguro
บรรทัด 8: บรรทัด 8:


[[en:Uyghur alphabets]]
[[en:Uyghur alphabets]]
[[it:Alfabeto uiguro]]
[[tr:Uygur alfabesi]]
[[tr:Uygur alfabesi]]
[[zh:維吾爾字母]]
[[zh:維吾爾字母]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:31, 20 กุมภาพันธ์ 2556

อักษรอุยกูร์ (Uyghur /Уйғур /ئۇيغۇر) เริ่มแรกภาษาอุยกูร์เขียนด้วยอักษรออร์กอนซึ่งเป็นอักษรรูนส์อักษรอุยกูร์นี้พัฒนามาจากอักษรซอกเดีย ที่มาจากอักษรอราเมอิกอีกต่อหนึ่ง ใช้ในระหว่าง พ.ศ. 1300 – 2100 อักษรนี้ต่างจากอักษรซอกเดียคือเขียนในแนวตั้งจากซ้ายไปขวา (ในขณะที่อักษรซอกเดียเขียนจากขวาไปซ้าย แนวนอน) โดยหมุนรูปอักษรไป 90 องศา ต่อมาช่วง พ.ศ. 2100 – 2500 ภาษาอุยกูร์เขียนด้วยอักษรอาหรับดัดแปลงที่เรียกชะกะไต หลังจากนั้นได้นำอักษรละตินและอักษรซีริลลิกมาใช้ แต่อักษรละตินไม่เป็นที่นิยมมากนัก พ.ศ. 2530 อักษรอาหรับได้ถูกยกฐานะเป็นอักษรราชการสำหรับภาษาอุยกูร์ในจีน

อ้างอิง