ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วุฒิสภา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ChBRNM (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 4655658 สร้างโดย ChBRNM (พูดคุย)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
'''วุฒิสภา''' เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการ[[นิติบัญญัติ]] โดยทั่วไปมักเป็น[[สภาสูง]]ใน[[ระบบสภาคู่]] วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือ[[วุฒิสภาโรมัน]]

'''วุฒิสภา''' เป็นสภาหนึ่งในอำนาจอธิปไตยฝ่าย[[นิติบัญญัติ]] โดยทั่วไปมักเป็น[[สภาสูง]]และอยู่ในรัฐสภาแบบ[[ระบบสภาคู่]] วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือ[[วุฒิสภาโรมัน]]


== ความหมายอื่น ==
== ความหมายอื่น ==
บรรทัด 10: บรรทัด 12:
* ใน[[สกอตแลนด์]] ตุลาการ[[ศาลยุติธรรมชั้นสูง]] (High Court of Justiciary) ซึ่งเป็นศาลอาญาสูงสุดของสกอตแลนด์ เรียก กรรมการสภาคณาจารย์วิทยาลัยยุติธรรม (Senators of the College of Justice)
* ใน[[สกอตแลนด์]] ตุลาการ[[ศาลยุติธรรมชั้นสูง]] (High Court of Justiciary) ซึ่งเป็นศาลอาญาสูงสุดของสกอตแลนด์ เรียก กรรมการสภาคณาจารย์วิทยาลัยยุติธรรม (Senators of the College of Justice)


== วุฒิสภาแห่งชาติในโลก ==
== อำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาในประเทศไทย ==
ในการกลั่นกรองและพิจารณากฎหมายที่ผ่านการพิจารณาจาก[[สภาผู้แทนราษฎรไทย|สภาผู้แทนราษฎร]] ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน โดยการตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรี หรือเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือชี้แจงปัญหาโดยไม่มีการลงมติ นอกจากนี้ ยังให้วุฒิสภามีอำนาจหน้าที่ ในการพิจารณาเลือก แต่งตั้ง เสนอชื่อ หรือให้ความเห็นชอบให้บุคคลดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ โดยตั้งคณะกรรมาธิการ ทำหน้าที่ตรวจสอบประวัติ ความประพฤติ และพฤติกรรมทางจริยธรรม ของบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่ง รวมทั้งรวบรวมข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานที่จำเป็น แล้วรายงานต่อ[[วุฒิสภาไทย|วุฒิสภา]] เพื่อประกอบการพิจารณา ตามมาตราที่ 121 ของบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 อีกด้วย<ref>กลุ่มงานผลิตเอกสาร สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 340, หน้า 114</ref>
*[[วุฒิสภาแอนติกาและบาร์บูดา]]

*[[วุฒิสภาอาร์เจนตินา]]
*[[วุฒิสภาออสเตรเลีย]]
== ประเทศสมาชิกวุฒิสภาแห่งชาติในโลก ==
*[[แอนติกาและบาร์บูดา]]
*[[วุฒิสภาบาฮามาส]]
*[[อาร์เจนตินา]]
*[[วุฒิสภาบาร์เบโดส]]
*[[ออสเตรเลีย]]
*[[วุฒิสภาเบลเยียม]]
*[[บาฮามาส]]
*[[วุฒิสภาเบลีซ]]
*[[บาร์เบโดส]]
*[[วุฒิสภาโบลิเวีย]]
*[[เบลเยียม]]
*[[วุฒิสภาบราซิล]]
*[[เบลีซ]]
*[[วุฒิสภาบุรุนดี]]
*[[โบลิเวีย]]
*[[วุฒิสภากัมพูชา]]
*[[บราซิล]]
*[[วุฒิสภาแคนาดา]]
*[[บุรุนดี]]
*[[วุฒิสภาชิลี]]
*[[กัมพูชา]]
*[[วุฒิสภาโคลัมเบีย]]
*[[แคนาดา]]
*[[วุฒิสภาสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก]]
*[[ชิลี]]
*[[วุฒิสภาสาธารณรัฐคองโก]]
*[[โคลัมเบีย]]
*[[วุฒิสภาสาธารณรัฐเช็ค]]
*[[สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก]]
*[[วุฒิสภาโดมินิกัน]]
*[[สาธารณรัฐคองโก]]
*[[วุฒิสภาฟิจิ]]
*[[สาธารณรัฐเช็ค]]
*[[วุฒิสภาฝรั่งเศส]]
*[[โดมินิกัน]]
*[[วุฒิสภากาบอง]]
*[[ฟิจิ]]
*[[วุฒิสภาเกรเนดา]]
*[[ฝรั่งเศส]]
*[[วุฒิสภาเฮติ]]
*[[กาบอง]]
*[[วุฒิสภาอินเดีย]]
*[[เกรเนดา]]
*[[วุฒิสภาไอร์แลนด์]]
*[[เฮติ]]
*[[วุฒิสภาอิตาลี]]
*[[อินเดีย]]
*[[วุฒิสภาจาไมกา]]
*[[ไอร์แลนด์]]
*[[วุฒิสภาจอร์แดน]]
*[[อิตาลี]]
*[[วุฒิสภาคาซัคสถาน]]
*[[จาไมกา]]
*[[วุฒิสภาเลโซโท]]
*[[จอร์แดน]]
*[[วุฒิสภาไลบีเรีย]]
*[[คาซัคสถาน]]
*[[วุฒิสภามาดากัสการ์]]
*[[เลโซโท]]
*[[วุฒิสภามาเลเซีย]]
*[[ไลบีเรีย]]
*[[วุฒิสภาเม็กซิโก]]
*[[มาดากัสการ์]]
*[[วุฒิสภาไนจีเรีย]]
*[[มาเลเซีย]]
*[[วุฒิสภาปาเลา]]
*[[เม็กซิโก]]
*[[วุฒิสภาปากีสถาน]]
*[[ไนจีเรีย]]
*[[วุฒิสภาปารากวัย]]
*[[ปาเลา]]
*[[วุฒิสภาฟิลิปปินส์]]
*[[ปากีสถาน]]
*[[วุฒิสภาโปแลนด์]]
*[[ปารากวัย]]
*[[วุฒิสภาโรมาเนีย]]
*[[ฟิลิปปินส์]]
*[[วุฒิสภารัสเซีย]]
*[[โปแลนด์]]
*[[วุฒิสภารวันดา]]
*[[โรมาเนีย]]
*[[วุฒิสภาเซนต์ลูเซีย]]
*[[รัสเซีย]]
*[[วุฒิสภาเซเนกัล]]
*[[รวันดา]]
*[[วุฒิสภาสเปน]]
*[[เซนต์ลูเซีย]]
*[[วุฒิสภาสวาซิแลนด์]]
*[[เซเนกัล]]
*[[วุฒิสภาสหรัฐอเมริกา]]
*[[สเปน]]
*[[วุฒิสภาไทย]]
*[[สวาซิแลนด์]]
*[[วุฒิสภาอุรุกวัย]]
*[[สหรัฐอเมริกา]]
*[[วุฒิสภาซิมบับเว]]
*[[ไทย]]
*[[อุรุกวัย]]
*[[ซิมบับเว]]


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[สภาสูง]]
* [[สภาสูง]]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

== บรรณานุกรม ==
กลุ่มงานผลิตเอกสาร สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย, สำนักพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 340


[[หมวดหมู่:สภานิติบัญญัติ]]
[[หมวดหมู่:สภานิติบัญญัติ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:33, 18 กุมภาพันธ์ 2556

วุฒิสภา เป็นสภาหนึ่งในอำนาจอธิปไตยฝ่ายนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาสูงและอยู่ในรัฐสภาแบบระบบสภาคู่ วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือวุฒิสภาโรมัน

ความหมายอื่น

คำว่าวุฒิสภาหรือสมาชิกวุฒิสภานั้นอาจไม่จำเป็นที่จะต้องหมายถึงสภาสูงในระบบสภาคู่ของฝ่ายนิติบัญญัติแต่อย่างใด

  • ในฟินแลนด์ สมัยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซีย วุฒิสภาแห่งฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการจนกระทั่ง ค.ศ. 1919
  • ในประเทศเยอรมนี
    • รัฐเยอรมัน (Bundesländer) สามรัฐ คือ เบอร์ลิน เบรเมน และฮัมบูร์ก มีวุฒิสภา (Senat) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของฝ่ายบริหาร ประกอบด้วยสมาชิกวุฒิสภา (Senator) ที่เป็นรัฐมนตรี
    • องค์คณะผู้พิพากษา 5 คนในศาลอุทธรณ์ชั้นสูง (higher court of appeal) ที่ทำหน้าที่ดำเนินกระบวนพิจารณาและวินิจฉัยคดีต่างนั้น เรียกว่า "สมาชิกวุฒิสภา" แต่ไม่เรียกผู้พิพากษาทั่วไปเช่นนั้น
    • ในดินแดนบาวาเรียเคยมีวุฒิสภาเป็นสภาสูงมาก่อน ก่อนถูกเลิกล้มไปในค.ศ. 1999
  • ในสกอตแลนด์ ตุลาการศาลยุติธรรมชั้นสูง (High Court of Justiciary) ซึ่งเป็นศาลอาญาสูงสุดของสกอตแลนด์ เรียก กรรมการสภาคณาจารย์วิทยาลัยยุติธรรม (Senators of the College of Justice)

อำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาในประเทศไทย

ในการกลั่นกรองและพิจารณากฎหมายที่ผ่านการพิจารณาจากสภาผู้แทนราษฎร ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน โดยการตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรี หรือเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือชี้แจงปัญหาโดยไม่มีการลงมติ นอกจากนี้ ยังให้วุฒิสภามีอำนาจหน้าที่ ในการพิจารณาเลือก แต่งตั้ง เสนอชื่อ หรือให้ความเห็นชอบให้บุคคลดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ โดยตั้งคณะกรรมาธิการ ทำหน้าที่ตรวจสอบประวัติ ความประพฤติ และพฤติกรรมทางจริยธรรม ของบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่ง รวมทั้งรวบรวมข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานที่จำเป็น แล้วรายงานต่อวุฒิสภา เพื่อประกอบการพิจารณา ตามมาตราที่ 121 ของบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 อีกด้วย[1]

ประเทศสมาชิกวุฒิสภาแห่งชาติในโลก

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. กลุ่มงานผลิตเอกสาร สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 340, หน้า 114

บรรณานุกรม

กลุ่มงานผลิตเอกสาร สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย, สำนักพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 340