ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วุฒิสภา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Justincheng12345-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: jv:Senat
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
* ใน[[สกอตแลนด์]] ตุลาการ[[ศาลสูงยุติธรรม]] ({{lang-en|High Court of Justiciary}}) ซึ่งเป็นศาลอาญาสูงสุดของสกอตแลนด์ เรียก กรรมการสภาคณาจารย์วิทยาลัยยุติธรรม ({{lang-en|Senators of the College of Justice}})
* ใน[[สกอตแลนด์]] ตุลาการ[[ศาลสูงยุติธรรม]] ({{lang-en|High Court of Justiciary}}) ซึ่งเป็นศาลอาญาสูงสุดของสกอตแลนด์ เรียก กรรมการสภาคณาจารย์วิทยาลัยยุติธรรม ({{lang-en|Senators of the College of Justice}})


== ความหมายในประเทศไทย ==
== หน้าที่ของวุฒิสภาในประเทศไทย ==
ในการกลั่นกรองกฎหมาย ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน โดยการตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรี หรือเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือชี้แจงปัญหาโดยไม่มีการลงมติ นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช 2540) ยังได้บัญญัติให้วุฒิสภามีอำนาจหน้าที่โดยเฉพาะอีกหลายประการ คือ การพิจารณาเลือก แต่งตั้ง ให้คำแนะนำ หรือให้ความเห็นชอบให้บุคคลดำรงตำแหน่งต่าง ๆ
ในการกลั่นกรองและพิจารณากฎหมายที่ผ่านการพิจารณาจากสภาผู้แทนราษฎร ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน โดยการตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรี หรือเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือชี้แจงปัญหาโดยไม่มีการลงมติ นอกจากนี้ ยังให้วุฒิสภามีอำนาจหน้าที่ ในการพิจารณาเลือก แต่งตั้ง เสนอชื่อ หรือให้ความเห็นชอบให้บุคคลดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ โดยตั้งคณะกรรมาธิการ ทำหน้าที่ตรวจสอบประวัติ ความประพฤติ และพฤติกรรมทางจริยธรรม ของบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่ง รวมทั้งรวบรวมข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานที่จำเป็น แล้วรายงานต่อวุฒิสภา เพื่อประกอบการพิจารณา ตามมาตราที่ 121 ของบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 อีกด้วย


== วุฒิสภาแห่งชาติในโลก ==
== วุฒิสภาแห่งชาติในโลก ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:35, 18 กุมภาพันธ์ 2556

วุฒิสภา เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาสูงในระบบสภาคู่ วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือวุฒิสภาโรมัน

ความหมายอื่น

คำว่าวุฒิสภาหรือสมาชิกวุฒิสภานั้นอาจไม่จำเป็นที่จะต้องหมายถึงสภาสูงในระบบสภาคู่ของฝ่ายนิติบัญญัติแต่อย่างใด

หน้าที่ของวุฒิสภาในประเทศไทย

ในการกลั่นกรองและพิจารณากฎหมายที่ผ่านการพิจารณาจากสภาผู้แทนราษฎร ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน โดยการตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรี หรือเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือชี้แจงปัญหาโดยไม่มีการลงมติ นอกจากนี้ ยังให้วุฒิสภามีอำนาจหน้าที่ ในการพิจารณาเลือก แต่งตั้ง เสนอชื่อ หรือให้ความเห็นชอบให้บุคคลดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ โดยตั้งคณะกรรมาธิการ ทำหน้าที่ตรวจสอบประวัติ ความประพฤติ และพฤติกรรมทางจริยธรรม ของบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่ง รวมทั้งรวบรวมข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานที่จำเป็น แล้วรายงานต่อวุฒิสภา เพื่อประกอบการพิจารณา ตามมาตราที่ 121 ของบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 อีกด้วย

วุฒิสภาแห่งชาติในโลก

ดูเพิ่ม