ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฮโดรเจนแอสทาไทด์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
HRoestBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต เพิ่ม: pl:Astatowodór
บรรทัด 51: บรรทัด 51:
[[en:Hydrogen astatide]]
[[en:Hydrogen astatide]]
[[it:Acido astatidrico]]
[[it:Acido astatidrico]]
[[nl:Waterstofastatide]]
[[ja:アスタチン化水素]]
[[ja:アスタチン化水素]]
[[nl:Waterstofastatide]]
[[pl:Astatowodór]]
[[pt:Astateto de hidrogênio]]
[[pt:Astateto de hidrogênio]]
[[ro:Acid astatinhidric]]
[[ro:Acid astatinhidric]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:30, 18 กุมภาพันธ์ 2556

ไฮโดรเจนแอสทาไทด์
hydrogen astatide
แบบจำลอง Spacefill model ไฮโดรเจนแอสทาไทด์
ชื่อ
ชื่ออื่น
แอสทาทีนไฮไดรด์ (astatine hydride)
แอสทาเทน (astatane)
แอสทีโดไฮโดรเจน (astidohydrogen)
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
เคมสไปเดอร์
532398
  • InChI=1S/AtH/h1H checkY
    Key: PGLQOBBPBPTBQS-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/AtH/h1H
    Key: PGLQOBBPBPTBQS-UHFFFAOYAG
  • [AtH]
คุณสมบัติ
HAt
มวลโมเลกุล 211.008 g/mol
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
ไฮโดรเจนโบรไมด์
ไฮโดรเจนคลอไรด์
ไฮโดรเจนฟลูออไรด์
ไฮโดรเจนไอโอไดด์
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ไฮโดรเจนแอสทาไทด์ (อังกฤษ: hydrogen astatide) หรือ แอสทาเทน (อังกฤษ: astatane) มีสูตรทางเคมีว่า HAt เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่เกิดจากอะตอมของธาตุแอสทาทีนเชื่อมกับอะตอมไฮโดรเจนด้วยพันธะโคเวเลนต์[1] สารประกอบชนิดนี้จัดอยู่ในประเภทไฮโดรเจนแฮไลด์ (hydrogen halide) ที่ประกอบด้วยสาร 5 ชนิด ซึ่งมีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน โดยไฮโดรเจนแอสทาไทด์มีสภาพเป็นกรดสูงสุดในกลุ่มดังกล่าว แต่สารชนิดนี้ยังใช้ประโยชน์ได้ในวงจำกัด เนื่องจากสามารถสลายตัวออกเป็นไฮโดรเจนกับแอสทาทีนได้อย่างรวดเร็ว[2] เช่นเดียวกับไอโซโทปของแอสทาทีนที่มีครึ่งชีวิตสั้น สาเหตุที่สลายตัวเร็วเนื่องจากทั้งไฮโดรเจนและแอสทาทีนมีค่าอิเล็กโตรเนกาทิวิตีเกือบเท่ากัน ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนแอสทาไทด์อาจเกิดได้ตามสมการดังต่อไปนี้

โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้คือ แก๊สไฮโดรเจนและตะกอนแอสทาทีน เนื่องจากธาตุแอสทาทีนไม่มีไอโซโทปใดเลยที่เสถียร โดยโอโซโทปที่เสถียรที่สุดคือ แอสทาทีน-210 ซึ่งมีครึ่งชีวิตเพียงประมาณ 8.1 ชั่วโมง ทำให้ยากต่อการศึกษาในเรื่องสารประกอบที่เกิดจากแอสทาทีน[3] ธาตุชนิดนี้จะสลายตัวได้อย่างรวดเร็วกลายเป็นธาตุชนิดอื่นแทน

อ้างอิง