ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซิตตะโกซอรัส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต: แก้ไขจาก zh:鸚鵡嘴龍 ไปเป็น zh:鸚鵡嘴龍屬
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต: แก้ไขจาก he:פסיטקוזאור ไปเป็น he:פסיטקוזאורוס
บรรทัด 57: บรรทัด 57:
[[es:Psittacosaurus]]
[[es:Psittacosaurus]]
[[fr:Psittacosaurus]]
[[fr:Psittacosaurus]]
[[he:פסיטקוזאור]]
[[he:פסיטקוזאורוס]]
[[hu:Psittacosaurus]]
[[hu:Psittacosaurus]]
[[it:Psittacosaurus]]
[[it:Psittacosaurus]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:24, 10 กุมภาพันธ์ 2556

ซิตตะโกซอรัส
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ครีเตเชียสตอนต้น
กะโหลกศีรษะ ซิตตะโกซอรัส มองโกเลียเอนซิส ที่พิพิธภัณฑ์ออสเตรเลียน ซิดนีย์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Sauropsida
อันดับใหญ่: Dinosauria
อันดับ: Ornithischia
อันดับย่อย: Cerapoda
อันดับฐาน: Ceratopsia
วงศ์: Psittacosauridae
สกุล: Psittacosaurus
Osborn, 1923
Species
  • P. mongoliensis  (type)
    Osborn, 1923
  • P. sinensis
    Young, 1958
  • P. meileyingensis
    Sereno et al., 1988
  • P. xinjiangensis
    Sereno & Zhao, 1988
  • ?P. sattayaraki
    Buffetaut & Suteethorn, 1992
  • P. neimongoliensis
    Russell & Zhao, 1996
  • P. ordosensis
    Russell & Zhao, 1996
  • P. mazongshanensis
    Xu, 1997
  • P. sibiricus
    Leshchinskiy et al., 2000
  • P. lujiatunensis
    Zhou et al., 2006
  • P. major
    Sereno et al., 2007
ชื่อพ้อง

Protiguanodon Osborn, 1923
Luanpingosaurus Cheng vide Chen, 1996[1]

ซิตตะโกซอรัส[2] (อังกฤษ: Psittacosaurus) หรือ ไดโนเสาร์ปากนกแก้ว มีชีวิตอยู่ในยุคครีเตเชียสตอนต้น พบได้ในทวีปเอเชียและทวีปยุโรป เป็นสัตว์กินพืช 2 เท้าที่มีขนาดเล็ก เพราะมีความ ยาวลำตัวเพียง 2 เมตร กะโหลกศีรษะแคบ กระดูกแก้มมีลักษณะคล้ายเขา ตาและรูจมูกอยู่ค่อน ข้างสูง จะงอยปากมีลักษณะงองุ้มคล้ายปากของนกแก้ว จึงทำให้มันได้ชื่อว่า "ไดโนเสาร์นกแก้ว" หน้าตาของมันไม่ค่อยดุร้ายเหมือนไดโนเสาร์ตัวอื่น ๆ ในตระกูลเดียวกัน

ในภายหลัง ได้มีการค้นพบไดโนเสาร์ปากนกแก้วชนิดใหม่ ที่หมวดหินโคกกรวด อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งเป็นการค้นพบซากฟอสซิลไดโนเสาร์ปากนกแก้วครั้งแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงได้มีการตั้งชื่อให้กับไดโนเสาร์ปากนกแก้วชนิดใหม่นี้ว่า "ซิตตะโกซอรัส สัตยารักษ์กี" เพื่อเป็นเกียรติแด่นเรศ สัตยารักษ์ ซึ่งเป็นผู้ค้นพบซากฟอสซิลดังกล่าว[2]

อ้างอิง

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link GA