ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาบ้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Saerin (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสคริปต์จัดให้
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Taxobox
{{Taxobox
| color = gold
| color = pink
| name = บ้า
| name = ปลาบ้า
| image = ปลาบ้า.jpg
| image = ปลาบ้า.jpg
| image_width = 200px
| image_width = 250px
| regnum = [[Animalia]]
| regnum = [[Animalia]]
| phylum = [[Chordata]]
| phylum = [[Chordata]]
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
| genus = ''[[Leptobarbus]]''
| genus = ''[[Leptobarbus]]''
| species = ''L. hoevenii''
| species = ''L. hoevenii''
| binomial = ''Leptobarbus hoevenii''
| binomial = ''Leptobarbus hoevenii''
| binomial_authority = Bleeker, [[ค.ศ. 1851]]
| binomial_authority = Bleeker, [[ค.ศ. 1851]]
}}
}}
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
ปลาบ้า อาศัยอยู่ตามแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ทั่วประเทศ เช่น [[แม่น้ำเจ้าพระยา]] [[แม่น้ำท่าจีน]] [[แม่น้ำโขง]] [[แม่น้ำน่าน]] [[แม่น้ำมูล]] รวมถึงลำธารใน[[ป่าดงดิบ]] มักอยู่รวมเป็นฝูง โดยปลาชนิดนี้จะกิน[[ลูกลำโพง]]เข้าไป แล้วสะสมพิษในร่างกาย เมื่อมีคนนำไปกินจึงมีอาการมึนเมา อันเป็นที่มาของชื่อ จึงไม่เป็นที่นิยมรับประทานมากนัก แต่ที่[[มาเลเซีย]]นิยมรับประทานมาก จนได้ชื่อว่า " ปลาสุลต่าน " มีฤดูวางไข่ระหว่างเดือน[[พฤษภาคม]]ถึงเดือน[[กันยายน]] ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 15-18 ชั่วโมง
ปลาบ้า อาศัยอยู่ตามแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ทั่วประเทศ เช่น [[แม่น้ำเจ้าพระยา]] [[แม่น้ำท่าจีน]] [[แม่น้ำโขง]] [[แม่น้ำน่าน]] [[แม่น้ำมูล]] รวมถึงลำธารใน[[ป่าดงดิบ]] มักอยู่รวมเป็นฝูง โดยปลาชนิดนี้จะกิน[[ลูกลำโพง]]เข้าไป แล้วสะสมพิษในร่างกาย เมื่อมีคนนำไปกินจึงมีอาการมึนเมา อันเป็นที่มาของชื่อ จึงไม่เป็นที่นิยมรับประทานมากนัก แต่ที่[[มาเลเซีย]]นิยมรับประทานมาก จนได้ชื่อว่า " ปลาสุลต่าน " มีฤดูวางไข่ระหว่างเดือน[[พฤษภาคม]]ถึงเดือน[[กันยายน]] ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 15-18 ชั่วโมง


ปลาบ้า ยังมีชื่อเรียกที่ต่างออกไป เช่น [[ไอ้บ้า]] [[พวง]] ใน[[ภาษาอีสาน]]เรียกว่า [[โพง]]
ปลาบ้า ยังมีชื่อเรียกที่ต่างออกไป เช่น [[ปลาไอ้บ้า]] [[ปลาพวง]] ใน[[ภาษาอีสาน]]เรียกว่า [[ปลาโพง]] นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย โดยมีชื่อเรียกว่า "แซมบ้า"


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย โดยมีชื่อเรียกว่า " แซมบ้า"


== แหล่งข้อมูลอื่น==
* [http://fishbase.sinica.edu.tw/Summary/speciesSummary.php?ID=4797&genusname=Leptobarbus&speciesname=hoevenii รูปและข้อมูลปลาบ้า]
* [http://fishbase.sinica.edu.tw/Summary/speciesSummary.php?ID=4797&genusname=Leptobarbus&speciesname=hoevenii รูปและข้อมูลปลาบ้า]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:28, 28 มีนาคม 2550

ปลาบ้า
ไฟล์:ปลาบ้า.jpg
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Actinopterygii
อันดับ: Cypriniformes
วงศ์: Cyprinidae
สกุล: Leptobarbus
สปีชีส์: L.  hoevenii
ชื่อทวินาม
Leptobarbus hoevenii
Bleeker, ค.ศ. 1851

บ้า เป็นชื่อปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Leptobarbus hoevenii อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ์ย่อยปลาซิว Danioninae - Danionini จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์ย่อยนี้ มีรูปร่างยาว ลำตัวค่อนข้างกลม หัวโต นัยน์ตาค่อนข้างโต ปากกว้างมีหนวดขนาดเล็ก 2 คู่ เกล็ดมีขนาดใหญ่ ลำตัวมีสีน้ำตาลอมเหลือง ส่วนของหลังสีดำปนเทา ท้องสีขาวจาง ครีบหางสีแดงสดหรือชมพู ครีบอื่นสีแดงจาง ๆ มีขนาดความยาวประมาณ 20-30 ซ.ม. พบใหญ่สุดถึง 80 ซ.ม. อาหารได้แก่ เมล็ดพืช แมลง และสัตว์น้ำขนาดเล็ก

ปลาบ้า อาศัยอยู่ตามแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ทั่วประเทศ เช่น แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำโขง แม่น้ำน่าน แม่น้ำมูล รวมถึงลำธารในป่าดงดิบ มักอยู่รวมเป็นฝูง โดยปลาชนิดนี้จะกินลูกลำโพงเข้าไป แล้วสะสมพิษในร่างกาย เมื่อมีคนนำไปกินจึงมีอาการมึนเมา อันเป็นที่มาของชื่อ จึงไม่เป็นที่นิยมรับประทานมากนัก แต่ที่มาเลเซียนิยมรับประทานมาก จนได้ชื่อว่า " ปลาสุลต่าน " มีฤดูวางไข่ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 15-18 ชั่วโมง

ปลาบ้า ยังมีชื่อเรียกที่ต่างออกไป เช่น ปลาไอ้บ้า ปลาพวง ในภาษาอีสานเรียกว่า ปลาโพง นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย โดยมีชื่อเรียกว่า "แซมบ้า"

แหล่งข้อมูลอื่น