ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
| ชื่อ = คณะศิลปกรรมศาสตร์<br>มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
| ชื่อ = คณะศิลปกรรมศาสตร์<br>มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
| ชื่ออังกฤษ = School of Fine and Applied Arts<br>Bangkok University
| ชื่ออังกฤษ = School of Fine and Applied Arts<br>Bangkok University
| ภาพ = [[ไฟล์:LOGO FINE & APPLIED ART.jpg | 150px]]
| ภาพ = [[ไฟล์:LOGO FINE & APPLIED ART.jpg | 150px]]
| วันที่ก่อตั้ง = [[พ.ศ. 2532]]
| วันที่ก่อตั้ง = [[พ.ศ. 2532]]
| คณบดี = ผศ. สรรเสริญ มิลินทสูต
| คณบดี = ผศ. สรรเสริญ มิลินทสูต
| สีประจำคณะ = [[สีชมพูกลีบบัว]]
| สีประจำคณะ = [[สีชมพูกลีบบัว]]
| สัญลักษณ์คณะ = [[The Golden Spiral]]
| สัญลักษณ์คณะ = [[The Golden Spiral]]
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
ในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2538]] คณะฯได้ทำการปรับหลักสูตรของคณะให้มีความทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในขณะนั้น รวมทั้งได้ขออนุมัติเปิดสอนอีก 1 สาขาวิชาคือ สาขาวิชา[[ทัศนศิลป์]] และได้ดำเนินการขออนุมัติเปิดหลักสูตรสาขาวิชา[[การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ]]อีกสาขาหนึ่งในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2547]]
ในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2538]] คณะฯได้ทำการปรับหลักสูตรของคณะให้มีความทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในขณะนั้น รวมทั้งได้ขออนุมัติเปิดสอนอีก 1 สาขาวิชาคือ สาขาวิชา[[ทัศนศิลป์]] และได้ดำเนินการขออนุมัติเปิดหลักสูตรสาขาวิชา[[การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ]]อีกสาขาหนึ่งในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2547]]


นอกจากภารกิจในด้านการผลิตบัณฑิต ภารกิจสำคัญของ[[คณะศิลปกรรมศาสตร์]]คือการผลิตผลงานสร้างสรรค์ งานวิจัยและการส่งเสริมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยที่ผ่านมาคณาจารย์ของคณะฯได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมงานค้นคว้าวิจัยเผยแพร่ออกสู่สังคมอย่างสม่ำเสมอ และเมื่อ[[มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]]ได้ริเริ่มโครงการ[[หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ]] โดยได้มีการปรับพื้นที่ห้องเรียน บริเวณชั้น 3 อาคาร 9 (ปัจจุบันคือ [[อาคาร ดร.เจริญ คันธวงศ์]]) วิทยาเขตกล้วยน้ำไท ขึ้นเป็นพื้นที่จัดแสดงผลงานศิลปะเมื่อปี [[พ.ศ. 2539]] [[คณะศิลปกรรมศาสตร์]]ก็ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบโครงการดังกล่าวมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่ง [[หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ]] ได้รับการยอมรับว่าเป็นหอศิลปะที่ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยและเป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านศิลปวัฒนธรรมที่มีคุณค่าของสังคม
นอกจากภารกิจในด้านการผลิตบัณฑิต ภารกิจสำคัญของ[[คณะศิลปกรรมศาสตร์]]คือการผลิตผลงานสร้างสรรค์ งานวิจัยและการส่งเสริมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยที่ผ่านมาคณาจารย์ของคณะฯได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมงานค้นคว้าวิจัยเผยแพร่ออกสู่สังคมอย่างสม่ำเสมอ และเมื่อ[[มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]]ได้ริเริ่มโครงการ[[หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ]] โดยได้มีการปรับพื้นที่ห้องเรียน บริเวณชั้น 3 อาคาร 9 (ปัจจุบันคือ [[อาคาร ดร.เจริญ คันธวงศ์]]) วิทยาเขตกล้วยน้ำไท ขึ้นเป็นพื้นที่จัดแสดงผลงานศิลปะเมื่อปี [[พ.ศ. 2539]] [[คณะศิลปกรรมศาสตร์]]ก็ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบโครงการดังกล่าวมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่ง [[หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ]] ได้รับการยอมรับว่าเป็นหอศิลปะที่ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยและเป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านศิลปวัฒนธรรมที่มีคุณค่าของสังคม


ซึ่งจากการจัดกิจกรรมที่มีคุณค่าอย่างสม่ำเสมอ[[หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ]] ก็ได้เปิดให้บริการอีกแห่ง ณ บริเวณชั้น 2 [[อาคารหอสมุดสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์]] วิทยาเขตรังสิต ในปี [[พ.ศ. 2544]] และในปี [[พ.ศ. 2549]] ก็ได้ย้ายที่ทำการจากบริเวณชั้น 3 [[อาคารดร.เจริญ คันธวงศ์]] มาที่[[อาคารวิทยาลัยนานาชาติและหอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ]]วิทยาเขตกล้วยน้ำไท ซึ่งเป็นอาคารที่ออกแบบมาเพื่อลองรับ การจัดกิจกรรมทางด้านศิลปวัฒนธรรมโดยตรง
ซึ่งจากการจัดกิจกรรมที่มีคุณค่าอย่างสม่ำเสมอ[[หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ]] ก็ได้เปิดให้บริการอีกแห่ง ณ บริเวณชั้น 2 [[อาคารหอสมุดสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์]] วิทยาเขตรังสิต ในปี [[พ.ศ. 2544]] และในปี [[พ.ศ. 2549]] ก็ได้ย้ายที่ทำการจากบริเวณชั้น 3 [[อาคารดร.เจริญ คันธวงศ์]] มาที่[[อาคารวิทยาลัยนานาชาติและหอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ]]วิทยาเขตกล้วยน้ำไท ซึ่งเป็นอาคารที่ออกแบบมาเพื่อลองรับ การจัดกิจกรรมทางด้านศิลปวัฒนธรรมโดยตรง


<!--สีประจำคณะฯ ชมพูกลีบบัว-->
<!--สีประจำคณะฯ ชมพูกลีบบัว-->
บรรทัด 51: บรรทัด 51:
== สัญลักษณ์ประจำคณะฯ ==
== สัญลักษณ์ประจำคณะฯ ==
* ตราสัญลักษณ์อย่างเป็นทางการ เริ่มใช้เมื่อปี (พ.ศ. 2549) ออกแบบโดย [[SPA Advertising]]
* ตราสัญลักษณ์อย่างเป็นทางการ เริ่มใช้เมื่อปี (พ.ศ. 2549) ออกแบบโดย [[SPA Advertising]]
[[ไฟล์:LOGO FINE & APPLIED ART.jpg | 150px]]
[[ไฟล์:LOGO FINE & APPLIED ART.jpg | 150px]]
* ตราสัญลักษณ์ที่ทางคณะฯออกแบบ (เริ่มใช้ปี พ.ศ. 2549)
* ตราสัญลักษณ์ที่ทางคณะฯออกแบบ (เริ่มใช้ปี พ.ศ. 2549)
[[ไฟล์:FABNEW.jpg | 250px]]
[[ไฟล์:FABNEW.jpg | 250px]]
บรรทัด 57: บรรทัด 57:
[[ไฟล์:Creative.jpg | 250px]]
[[ไฟล์:Creative.jpg | 250px]]
<!--"Creative Society" หรือ "ชุมชนแห่งการสร้างสรรค์" เป็นแคมเปญที่อาจารย์สรรเสริญ มิลินทสูต คณบดีคนปัจจุบันเป็นคนริเริ่มขึ้น เพื่อเป็นการรณรงค์ให้นักศึกษาเรียนและทำกิจกรรมอย่างสร้างสรรค์และมีสาระ ให้สมกับเป็นชุมชนของนักสร้างสรรค์หรือนักออกแบบ-->
<!--"Creative Society" หรือ "ชุมชนแห่งการสร้างสรรค์" เป็นแคมเปญที่อาจารย์สรรเสริญ มิลินทสูต คณบดีคนปัจจุบันเป็นคนริเริ่มขึ้น เพื่อเป็นการรณรงค์ให้นักศึกษาเรียนและทำกิจกรรมอย่างสร้างสรรค์และมีสาระ ให้สมกับเป็นชุมชนของนักสร้างสรรค์หรือนักออกแบบ-->
* สีประจำคณะ ได้แก่ '''สีชมพูกลีบบัว''' โดยมีที่มาจากหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า เรื่อง บัวสี่เหล่า โดยบัวที่พ้นน้ำและเบ่งบานรับแสงอรุณ เปรียบเสมือนบุคคลผู้หลุดพ้นจากอวิชชา พร้อมจะรับการอบรมสั่งสอนและเจริญขึ้นอย่างสง่างาม
* สีประจำคณะ ได้แก่ '''สีชมพูกลีบบัว''' โดยมีที่มาจากหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า เรื่อง บัวสี่เหล่า โดยบัวที่พ้นน้ำและเบ่งบานรับแสงอรุณ เปรียบเสมือนบุคคลผู้หลุดพ้นจากอวิชชา พร้อมจะรับการอบรมสั่งสอนและเจริญขึ้นอย่างสง่างาม


== นิทรรศการศิลปนิพนธ์ ==
== นิทรรศการศิลปนิพนธ์ ==
บรรทัด 67: บรรทัด 67:
! จำนวนผู้แสดงผลงาน <br/>(คน)
! จำนวนผู้แสดงผลงาน <br/>(คน)
|-
|-
| style="padding:1em 1em 1em 1em; border:1px solid #8888aa; background-color: #fff8f0" colspan="4"|'''ภาควิชาการออกแบบตกแต่งภายใน'''
| style="padding:1em 1em 1em 1em; border:1px solid #8888aa; background-color: #fff8f0" colspan = "4"|'''ภาควิชาการออกแบบตกแต่งภายใน'''
|-
|-
| 9 (2543)
| 9 (2543)
บรรทัด 77: บรรทัด 77:
| นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่10
| นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่10
| บริเวณชั้นโรงภาพยนตร์เมเจอร์ ศูนย์การค้า อิเซตัน
| บริเวณชั้นโรงภาพยนตร์เมเจอร์ ศูนย์การค้า อิเซตัน
|
|
|-
|-
| 11 (2545)
| 11 (2545)
| นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่11 "อินทีเรีย บางกอก"
| นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่11 "อินทีเรีย บางกอก"
| 3 - 5 พฤศจิกายน 2546
| 3 - 5 พฤศจิกายน 2546
|
|
|-
|-
| 12 (2546)
| 12 (2546)
| นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่12
| นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่12
| โรงยิมบาสเกตบอลล์ ชั้น 6 [[อาคารดร.เจริญ คันธวงศ์]] มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท
| โรงยิมบาสเกตบอลล์ ชั้น 6 [[อาคารดร.เจริญ คันธวงศ์]] มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท
|
|
|-
|-
| 13 (2547)
| 13 (2547)
| นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่13"ก้าวเดิน"
| นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่13"ก้าวเดิน"
|
|
|
|
|-
|-
| 14 (2548)
| 14 (2548)
| นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่14
| นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่14
|
|
|
|
|-
|-
| 15 (2549)
| 15 (2549)
| นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่15 "BRAIN SOCIETY"
| นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่15 "BRAIN SOCIETY"
| [[ดิเอสพละนาด]] [[ถนนรัชดาภิเษก]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| [[ดิเอสพละนาด]] [[ถนนรัชดาภิเษก]] [[กรุงเทพมหานคร]]
|
|
|-
|-
| 16 (2550)
| 16 (2550)
บรรทัด 111: บรรทัด 111:
| 17 (2551)
| 17 (2551)
| นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่17 "SEVENTY-FIVE SENSES"
| นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่17 "SEVENTY-FIVE SENSES"
| 23 มีนาคม–26 มีนาคม 2552 ณ บริเวณโถงชั้น 1 ศูนย์การค้าเช็นทรัลเวิลด์
| 23 มีนาคม–26 มีนาคม 2552 ณ บริเวณโถงชั้น 1 ศูนย์การค้าเช็นทรัลเวิลด์
| 75
| 75
|-
|-
| style="padding:1em 1em 1em 1em; border:1px solid #8888aa; background-color: #fff8f0" colspan="4"|'''ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป์'''
| style="padding:1em 1em 1em 1em; border:1px solid #8888aa; background-color: #fff8f0" colspan = "4"|'''ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป์'''
|-
|-
| 9 (2543)
| 9 (2543)
บรรทัด 123: บรรทัด 123:
| 10 (2544)
| 10 (2544)
| นิทรรศการโครงการออกแบบนิเทศศิลป์ ครั้งที่10
| นิทรรศการโครงการออกแบบนิเทศศิลป์ ครั้งที่10
|
|
|
|
|-
|-
| 11 (2545)
| 11 (2545)
| นิทรรศการโครงการออกแบบนิเทศศิลป์ ครั้งที่11
| นิทรรศการโครงการออกแบบนิเทศศิลป์ ครั้งที่11
|
|
|
|
|-
|-
| 12 (2546)
| 12 (2546)
บรรทัด 161: บรรทัด 161:
| 50
| 50
|-
|-
| style="padding:1em 1em 1em 1em; border:1px solid #8888aa; background-color: #fff8f0" colspan="4"|'''ภาควิชาทัศนศิลป์'''
| style="padding:1em 1em 1em 1em; border:1px solid #8888aa; background-color: #fff8f0" colspan = "4"|'''ภาควิชาทัศนศิลป์'''
|-
|-
| 3 (2543)
| 3 (2543)
บรรทัด 170: บรรทัด 170:
| 4 (2544)
| 4 (2544)
| นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่4
| นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่4
|
|
|
|
|-
|-
| 5 (2545)
| 5 (2545)
| นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่5
| นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่5
|
|
|
|
|-
|-
| 6 (2546)
| 6 (2546)
| นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่6
| นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่6
|
|
|
|
|-
|-
| 7 (2547)
| 7 (2547)
| นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่7
| นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่7
|
|
|
|
|-
|-
| 8 (2548)
| 8 (2548)
| นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่8
| นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่8
|
|
|
|
|-
|-
| 9 (2549)
| 9 (2549)
บรรทัด 201: บรรทัด 201:
| นิทรรศการศิลปะ "Re-act"
| นิทรรศการศิลปะ "Re-act"
| ที่สถาบันปรีดี พนมยงค์ ซ.ทองหล่อ วันที่ 29 มีนาคม - 11 เมษายน 2551
| ที่สถาบันปรีดี พนมยงค์ ซ.ทองหล่อ วันที่ 29 มีนาคม - 11 เมษายน 2551
|
|
|-
|-
| style="padding:1em 1em 1em 1em; border:1px solid #8888aa; background-color: #fff8f0" colspan="4"|'''ภาควิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ'''
| style="padding:1em 1em 1em 1em; border:1px solid #8888aa; background-color: #fff8f0" colspan = "4"|'''ภาควิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ'''
|-
|-
| 1 (2550)
| 1 (2550)
| นิทรรศการโครงการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ครั้งที่1 "ULTIMATE SOURCE"
| นิทรรศการโครงการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ครั้งที่1 "ULTIMATE SOURCE"
| ศูนย์การค้า[[เซ็นทรัลเวิลด์]] ชั้น1 บริเวณ Zone A Atrium <br/>ระหว่างวันจันทร์ที่ 31 มีนาคม ถึง 3 เมษายน 2551
| ศูนย์การค้า[[เซ็นทรัลเวิลด์]] ชั้น1 บริเวณ Zone A Atrium <br/>ระหว่างวันจันทร์ที่ 31 มีนาคม ถึง 3 เมษายน 2551
|
|
|}
|}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:54, 31 มกราคม 2556

คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
School of Fine and Applied Arts
Bangkok University
สถาปนาพ.ศ. 2532
คณบดีผศ. สรรเสริญ มิลินทสูต
ที่อยู่
อาคาร7 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต, 9/1 หมู่ 5 ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120.
Tel. 02 902 0299 ต่อ 2610
สีสีชมพูกลีบบัว
มาสคอต
The Golden Spiral
เว็บไซต์http://fab.bu.ac.th/


คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นคณะลำดับที่ 8 ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ประวัติ

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2532 ได้ก่อตั้งขึ้นเป็นคณะลำดับที่ 8 ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ แรกเริ่มเปิดหลักสูตรปริญญาตรีศิลปบัณฑิต 2 สาขาวิชาคือสาขาวิชาการออกแบบตกแต่งภายใน และสาขาการออกแบบนิเทศศิลป์ ได้จัดการเรียนการสอนขึ้น ณ อาคาร 4 และอาคารฝึกงาน (ปัจจุบันใช้เป็นสำนักงานฝ่ายกิจการนักศึกษา) วิทยาเขตรังสิต

ต่อมาในปีการศึกษา พ.ศ. 2533 จึงได้ย้ายมาจัดการเรียนการสอนในอาคาร 7 และอาคาร 8 วิทยาเขตรังสิต และได้ปรับการใช้พื้นที่สำนักงานฝ่ายอาคารสถานที่ วิทยาเขตรังสิต เป็นอาคารโรงฝึกงานเพื่อใช้สอนวิชาพื้นฐาน

ในปีการศึกษา พ.ศ. 2538 คณะฯได้ทำการปรับหลักสูตรของคณะให้มีความทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในขณะนั้น รวมทั้งได้ขออนุมัติเปิดสอนอีก 1 สาขาวิชาคือ สาขาวิชาทัศนศิลป์ และได้ดำเนินการขออนุมัติเปิดหลักสูตรสาขาวิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทออีกสาขาหนึ่งในปีการศึกษา พ.ศ. 2547

นอกจากภารกิจในด้านการผลิตบัณฑิต ภารกิจสำคัญของคณะศิลปกรรมศาสตร์คือการผลิตผลงานสร้างสรรค์ งานวิจัยและการส่งเสริมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยที่ผ่านมาคณาจารย์ของคณะฯได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมงานค้นคว้าวิจัยเผยแพร่ออกสู่สังคมอย่างสม่ำเสมอ และเมื่อมหาวิทยาลัยกรุงเทพได้ริเริ่มโครงการหอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ โดยได้มีการปรับพื้นที่ห้องเรียน บริเวณชั้น 3 อาคาร 9 (ปัจจุบันคือ อาคาร ดร.เจริญ คันธวงศ์) วิทยาเขตกล้วยน้ำไท ขึ้นเป็นพื้นที่จัดแสดงผลงานศิลปะเมื่อปี พ.ศ. 2539 คณะศิลปกรรมศาสตร์ก็ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบโครงการดังกล่าวมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่ง หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ได้รับการยอมรับว่าเป็นหอศิลปะที่ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยและเป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านศิลปวัฒนธรรมที่มีคุณค่าของสังคม

ซึ่งจากการจัดกิจกรรมที่มีคุณค่าอย่างสม่ำเสมอหอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ก็ได้เปิดให้บริการอีกแห่ง ณ บริเวณชั้น 2 อาคารหอสมุดสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ วิทยาเขตรังสิต ในปี พ.ศ. 2544 และในปี พ.ศ. 2549 ก็ได้ย้ายที่ทำการจากบริเวณชั้น 3 อาคารดร.เจริญ คันธวงศ์ มาที่อาคารวิทยาลัยนานาชาติและหอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพวิทยาเขตกล้วยน้ำไท ซึ่งเป็นอาคารที่ออกแบบมาเพื่อลองรับ การจัดกิจกรรมทางด้านศิลปวัฒนธรรมโดยตรง


ทำเนียบคณบดี

คณบดี ปีที่ดำรงตำแหน่ง
อาจารย์ยงสฤษดิ์ จารุบูรณะ 2532-2533
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุมิตรา ศรีวิบูลย์ 2534-2548
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สรรเสริญ มิลินทสูต 2548-ปัจจุบัน

สาขาวิชาในคณะ

  • สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Department of Product Design)
  • สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ (Department of Communication Design)
  • สาขาวิชาทัศนศิลป์ (Department of Visual Arts)
  • สาขาวิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ (Department Fashion and Textile Design)

สัญลักษณ์ประจำคณะฯ

  • ตราสัญลักษณ์อย่างเป็นทางการ เริ่มใช้เมื่อปี (พ.ศ. 2549) ออกแบบโดย SPA Advertising

  • ตราสัญลักษณ์ที่ทางคณะฯออกแบบ (เริ่มใช้ปี พ.ศ. 2549)

ไฟล์:FABNEW.jpg

  • ตราสัญลักษณ์ที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์คณะฯ (เริ่มใช้ปี พ.ศ. 2548) ออกแบบโดย Practical Studio

  • สีประจำคณะ ได้แก่ สีชมพูกลีบบัว โดยมีที่มาจากหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า เรื่อง บัวสี่เหล่า โดยบัวที่พ้นน้ำและเบ่งบานรับแสงอรุณ เปรียบเสมือนบุคคลผู้หลุดพ้นจากอวิชชา พร้อมจะรับการอบรมสั่งสอนและเจริญขึ้นอย่างสง่างาม

นิทรรศการศิลปนิพนธ์

รุ่น (ปีการศึกษา) ชื่อโครงการ สถานที่ วันและเวลาจัดนิทรรศการ จำนวนผู้แสดงผลงาน
(คน)
ภาควิชาการออกแบบตกแต่งภายใน
9 (2543) นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่9 "ต่างดาว" บริเวณชั้น 2 ศูนย์การค้า ดิเอ็มโพเรียม ระหว่างวันที่ 2-7 เมษายน 2544 17
10 (2544) นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่10 บริเวณชั้นโรงภาพยนตร์เมเจอร์ ศูนย์การค้า อิเซตัน
11 (2545) นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่11 "อินทีเรีย บางกอก" 3 - 5 พฤศจิกายน 2546
12 (2546) นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่12 โรงยิมบาสเกตบอลล์ ชั้น 6 อาคารดร.เจริญ คันธวงศ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท
13 (2547) นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่13"ก้าวเดิน"
14 (2548) นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่14
15 (2549) นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่15 "BRAIN SOCIETY" ดิเอสพละนาด ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร
16 (2550) นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่16 "DNA- Design iNterior fAshion" 31มีนาคม–3เมษายน 2551 ณ บริเวณโถงชั้น 1 หน้า ZEN ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ 70
17 (2551) นิทรรศการโครงการออกแบบตกแต่งภายใน ครั้งที่17 "SEVENTY-FIVE SENSES" 23 มีนาคม–26 มีนาคม 2552 ณ บริเวณโถงชั้น 1 ศูนย์การค้าเช็นทรัลเวิลด์ 75
ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป์
9 (2543) นิทรรศการโครงการออกแบบนิเทศศิลป์ ครั้งที่9 "ต่างดาว" บริเวณชั้น B1 ศูนย์การค้าเกษร พลาซ่า ระหว่างวันที่ 5-11 เมษายน 2544 24
10 (2544) นิทรรศการโครงการออกแบบนิเทศศิลป์ ครั้งที่10
11 (2545) นิทรรศการโครงการออกแบบนิเทศศิลป์ ครั้งที่11
12 (2546) นิทรรศการโครงการออกแบบนิเทศศิลป์ ครั้งที่12 "BASE" ห้างสรรพสินค้า Central World Plaza ชั้น1 โซนC 46
13 (2547) นิทรรศการโครงการออกแบบนิเทศศิลป์ ครั้งที่13 "SELECT-START" อาคารบางกอกโคด ใกล้รถไฟฟ้า สถานีสุรศักดิ์ 48
14 (2548) นิทรรศการโครงการออกแบบนิเทศศิลป์ ครั้งที่14 "14 Volt" Playground Store ซอยสุขุมวิท55 (ทองหล่อ) 28 เมษายน - 2 พฤษภาคม 2549 45
14/2 (2548) นิทรรศการโครงการออกแบบนิเทศศิลป์ ครั้งที่14/2 "The Post" อาคาร The Style by TOYOTA สยามแสควร์ 16
15 (2549) นิทรรศการโครงการออกแบบนิเทศศิลป์ ครั้งที่15 "Falcon The : Magenta" ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ชั้น1 บริเวณ Forum Zone
ระหว่างวันพุธที่ 28 มีนาคม ถึง 3 เมษายน 2550
59
16 (2550) นิทรรศการโครงการออกแบบนิเทศศิลป์ ครั้งที่16 "M16" ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ชั้น1 บริเวณ Zone A Atrium Hall
ระหว่างวันอังคารที่ 18 มีนาคม ถึง 23 มีนาคม 2551
50
ภาควิชาทัศนศิลป์
3 (2543) นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่3 "ต่างดาว" ณ SI-AM Art Space ระหว่างวันที่ 24 มีนาคม - 8 เมษายน 2544 12
4 (2544) นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่4
5 (2545) นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่5
6 (2546) นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่6
7 (2547) นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่7
8 (2548) นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่8
9 (2549) นิทรรศการศิลปะ ครั้งที่9 "Dialect" โกดังเก็บสี TOA(เก่า) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่
ระหว่างวันที่ 19 เมษายน - 4 พฤษภาคม 2550
23
10 (2550) นิทรรศการศิลปะ "Re-act" ที่สถาบันปรีดี พนมยงค์ ซ.ทองหล่อ วันที่ 29 มีนาคม - 11 เมษายน 2551
ภาควิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ
1 (2550) นิทรรศการโครงการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ครั้งที่1 "ULTIMATE SOURCE" ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ชั้น1 บริเวณ Zone A Atrium
ระหว่างวันจันทร์ที่ 31 มีนาคม ถึง 3 เมษายน 2551

กิจกรรมต่างๆ

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ได้มีการสนับสนุนกิจกรรมของนักศึกษาอยู่เป็นประจำ ทั้งนี้นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ในแต่ละรุ่นจะเป็นผู้ดำเนินโครงการต่างๆที่คิดสร้างสรรค์กันขึ้นมา กิจกรรมของนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ มีกิจกรรรมหลักทั้งหมด 4 กิจกรรม ซึ่งจัดขึ้นต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี

  • กิจกรรมปฐมนิเทศน้องใหม่

เป็นกิจกรรมที่รุ่นพี่ทุกคนรวมทั้งคณาจารย์จัดขึ้นเพื่อต้อนรับนักศึกษาใหม่ มีการแนะนำตัวอาจารย์ประจำคณะ รุ่นพี่ทำความรู้จักกับรุ้นน้อง และมีการแนะแนวการเรียนและการใช้ชีวิตที่คณะฯ และมหาวิทยาลัย

  • กิจกรรมรับน้องใหม่

เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อสร้างความสัมพันธ์กันระหว่างรุ่นพี่กับน้องใหม่ และน้องใหม่ในรุ่นเดียวกันเอง

  • กิจกรรมการออกร้านขายของ

เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อให้นักศึกษาทุกคนนำเอาความคิดสร้างสรรค์ของตนเองพัฒนาออกมาในรูปแบบของสินค้า ได้จัดให้มีการออกร้านขายสินค้ากันที่บริเวณรอบอาคาร 7 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต ในบางปีมีกิจกรรมพิเศษเช่น มีนิทรรศการศิลปของภาควิชาทัศนศิลป์ มีวงดนตรีที่มีชื่อเสียงมาแสดง และมีการเดินแฟชั่นโชว์ของภาควิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ งานออกร้านนี้เดิมมีชื่อว่า "คองกาโด" ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น "พริ้ง" (Prink) จะจัดขึ้นในช่วงเดือนมกราคม-กุมถาพันธ์ของทุกปี

  • กิจกรรมงานเทศการดนตรี และบา-บี-ชิว (Bar-B-Chill)

นักศึกษาของคณะศิลปะกรรมศาสตร์ นอกจากมีความสนใจในเรื่องของศิลปะและการออกแบบแล้ว นักศึกษาส่วนมากยังสนใจในเรื่องของดนตรีอีกด้วย มีนักศึกษาจำนวนมากที่เล่นดนตรีเป็นงานอดิเรกและมีการตั้งวงดนตรีกันเอง กิจกรรมนี้จึงจัดขึ้นเพื่อให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถทางด้านดนตรีออกสู่สาธารณะ ในงานนอกจากมีดนตรีแล้วยังมีการจัดบุฟเฟต์บา-บี-คิว อีกด้วย กิจกรรมนี้จึงมีชื่อว่า "บา-บี-ชิว" จะจัดขึ้นประจำทุกปี ณ บริเวณอาคาร 7 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต ทั้งนี้จะต้องซื้อบัตรเข้างาน เนื่องจากจะต้องใช้งบประมาณในการจัดงานสูง

แหล่งข้อมูลอื่น