ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: id:Kelayakhunian planet
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''ความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์''' คือการตรวจวัดศักยภาพของ[[ดาวเคราะห์]]หรือ[[ดาวบริวาร]]ของดาวเคราะห์ว่าสามารถรองรับการดำรงชีวิตของ[[สิ่งมีชีวิต]]ได้หรือไม่ ชีวิตดังกล่าวนี้อาจมีวิวัฒนาการขึ้นบนดาวเคราะห์หรือดาวบริวารนั้นเอง หรืออพยพมาจากแหล่งอื่นก็ได้ ในปัจจุบันนี้ยังไม่มีความแน่ชัดใดๆ เกี่ยวกับ[[สิ่งมีชีวิตนอกโลก]] ดังนั้นการศึกษาเรื่องความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์จึงใช้เงื่อนไขสภาวะแวดล้อมของ[[โลก]] และคุณลักษณะของ[[ดวงอาทิตย์]]และ[[ระบบสุริยะ]]เป็นสำคัญ ซึ่งเป็นปัจจัยให้สิ่งมีชีวิตสามารถดำรงอยู่ได้บนโลก การศึกษาวิจัยในสาขานี้เป็นส่วนหนึ่งของ[[วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์]]และเป็นสาขาเกิดใหม่ในทาง[[ชีวดาราศาสตร์]]
'''ความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์''' คือการตรวจวัดศักยภาพของ[[ดาวเคราะห์]]หรือ[[ดาวบริวาร]]ของดาวเคราะห์ว่าสามารถรองรับการดำรงชีวิตของ[[สิ่งมีชีวิต]]ได้หรือไม่ ชีวิตดังกล่าวนี้อาจมีวิวัฒนาการขึ้นบนดาวเคราะห์หรือดาวบริวารนั้นเอง หรืออพยพมาจากแหล่งอื่นก็ได้ ในปัจจุบันนี้ยังไม่มีความแน่ชัดใดๆ เกี่ยวกับ[[สิ่งมีชีวิตนอกโลก]] ดังนั้นการศึกษาเรื่องความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์จึงใช้เงื่อนไขสภาวะแวดล้อมของ[[โลก]] และคุณลักษณะของ[[ดวงอาทิตย์]]และ[[ระบบสุริยะ]]เป็นสำคัญ ซึ่งเป็นปัจจัยให้สิ่งมีชีวิตสามารถดำรงอยู่ได้บนโลก การศึกษาวิจัยในสาขานี้เป็นส่วนหนึ่งของ[[วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์]]และเป็นสาขาเกิดใหม่ในทาง[[ชีวดาราศาสตร์]]


สิ่งจำเป็นพื้นฐานที่สุดสำหรับชีวิต คือ [[พลังงาน|แหล่งกำเนิดพลังงาน]] ความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์มีความหมายพื้นฐานถึงลักษณะขอบเขตทางฟิสิกส์ธรณีวิทยา เคมีธรณีวิทยา และฟิสิกส์ดาราศาสตร์ที่พอเหมาะพอดีในการเอื้อหนุนต่อสิ่งมีชีวิต [[องค์การนาซ่า]]ได้นิยามขอบเขตพื้นฐานของความสามารถอยู่อาศัยได้ ว่า "ต้องมีน้ำในสถานะของเหลว เงื่อนไขที่ช่วยให้เกิดโมเลกุลอินทรีย์ที่ซับซ้อน และมีแหล่งพลังงานพอสำหรับสร้าง[[เมตาโบลิซึ่ม]]"<ref name=NASA1>{{cite web |url=http://astrobiology.arc.nasa.gov/roadmap/g1.html |title=Goal 1: Understand the nature and distribution of habitable environments in the Universe |accessdate=2007-08-11 |publisher=[[NASA]] |work=Astrobiology: Roadmap }}</ref>
สิ่งจำเป็นพื้นฐานที่สุดสำหรับชีวิต คือ [[พลังงาน|แหล่งกำเนิดพลังงาน]] ความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์มีความหมายพื้นฐานถึงลักษณะขอบเขตทางฟิสิกส์ธรณีวิทยา เคมีธรณีวิทยา และฟิสิกส์ดาราศาสตร์ที่พอเหมาะพอดีในการเอื้อหนุนต่อสิ่งมีชีวิต [[องค์การนาซ่า]]ได้นิยามขอบเขตพื้นฐานของความสามารถอยู่อาศัยได้ ว่า "ต้องมีน้ำในสถานะของเหลว เงื่อนไขที่ช่วยให้เกิดโมเลกุลอินทรีย์ที่ซับซ้อน และมีแหล่งพลังงานพอสำหรับสร้าง[[เมตาโบลิซึ่ม]]"<ref name=NASA1>{{cite web |url=http://astrobiology.arc.nasa.gov/roadmap/g1.html |title=Goal 1: Understand the nature and distribution of habitable environments in the Universe |accessdate=2007-08-11 |publisher=[[NASA]] |work=Astrobiology: Roadmap }}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:17, 30 มกราคม 2556

Understanding planetary habitability is partly an extrapolation of the Earth's conditions, as it is the only planet currently known to support life.

ความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์ คือการตรวจวัดศักยภาพของดาวเคราะห์หรือดาวบริวารของดาวเคราะห์ว่าสามารถรองรับการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตได้หรือไม่ ชีวิตดังกล่าวนี้อาจมีวิวัฒนาการขึ้นบนดาวเคราะห์หรือดาวบริวารนั้นเอง หรืออพยพมาจากแหล่งอื่นก็ได้ ในปัจจุบันนี้ยังไม่มีความแน่ชัดใดๆ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตนอกโลก ดังนั้นการศึกษาเรื่องความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์จึงใช้เงื่อนไขสภาวะแวดล้อมของโลก และคุณลักษณะของดวงอาทิตย์และระบบสุริยะเป็นสำคัญ ซึ่งเป็นปัจจัยให้สิ่งมีชีวิตสามารถดำรงอยู่ได้บนโลก การศึกษาวิจัยในสาขานี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์และเป็นสาขาเกิดใหม่ในทางชีวดาราศาสตร์

สิ่งจำเป็นพื้นฐานที่สุดสำหรับชีวิต คือ แหล่งกำเนิดพลังงาน ความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์มีความหมายพื้นฐานถึงลักษณะขอบเขตทางฟิสิกส์ธรณีวิทยา เคมีธรณีวิทยา และฟิสิกส์ดาราศาสตร์ที่พอเหมาะพอดีในการเอื้อหนุนต่อสิ่งมีชีวิต องค์การนาซ่าได้นิยามขอบเขตพื้นฐานของความสามารถอยู่อาศัยได้ ว่า "ต้องมีน้ำในสถานะของเหลว เงื่อนไขที่ช่วยให้เกิดโมเลกุลอินทรีย์ที่ซับซ้อน และมีแหล่งพลังงานพอสำหรับสร้างเมตาโบลิซึ่ม"[1]

อ้างอิง

  1. "Goal 1: Understand the nature and distribution of habitable environments in the Universe". Astrobiology: Roadmap. NASA. สืบค้นเมื่อ 2007-08-11.

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link GA