ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความดันไอ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ความดันไอ''' ({{lang-en|vapor pressure}}) คือ [[ความดัน]] (ถ้าไอถูกผสมด้วยก๊าซอื่น เรียก [[ความดันย่อย]]) ของ[[ไอ]] (ไอนี้เกิดจากโมเลกุลหรืออะตอมหนีจากของเหลวหรือของแข็ง) ที่อุณหภูมิกำหนดสำหรับสารเฉพาะ มีความดันที่ซึ่งไอของสารนั้นอยู่ในจุด [[สมดุล]] กับสถานะที่เป็น [[ของเหลว]] หรือ [[ของแข็ง]] ของมัน นี่คือ '''ความดันไอสมดุล'''
'''ความดันไอ''' ({{lang-en|vapor pressure}}) คือ [[ความดัน]] (ถ้าไอถูกผสมด้วยก๊าซอื่น เรียก [[ความดันย่อย]]) ของ[[ไอ]] (ไอนี้เกิดจากโมเลกุลหรืออะตอมหนีจากของเหลวหรือของแข็ง) ที่อุณหภูมิกำหนดสำหรับสารเฉพาะ มีความดันที่ซึ่งไอของสารนั้นอยู่ในจุด [[สมดุล]] กับสถานะที่เป็น [[ของเหลว]] หรือ [[ของแข็ง]] ของมัน นี่คือ '''ความดันไอสมดุล'''
(equilibrium vapor pressure) หรือ [[ความดันไออิ่มตัว]] (saturation vapor pressure) ของสาร ที่อุณหภูมินั้น คำว่าความดันไอบ่อยครั้งเข้าใจว่าเป็น ''ความดันไออิ่มตัว'' สารที่มีความดันไอสูงที่อุณหภูมิปกติเราเรียกภาวการณ์นี้ว่า'''''[[ระเหย]]''''' (volatile)
(equilibrium vapor pressure) หรือ [[ความดันไออิ่มตัว]] (saturation vapor pressure) ของสาร ที่อุณหภูมินั้น คำว่าความดันไอบ่อยครั้งเข้าใจว่าเป็น ''ความดันไออิ่มตัว'' สารที่มีความดันไอสูงที่อุณหภูมิปกติเราเรียกภาวการณ์นี้ว่า'''''[[ระเหย]]''''' (volatile)


บรรทัด 23: บรรทัด 23:
[[Raoult's law]] ใช้หาค่าความดันไอของของเหลวผสม
[[Raoult's law]] ใช้หาค่าความดันไอของของเหลวผสม


== แหล่งข้อมูลอื่น==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.ilpi.com/msds/ref/vaporpressure.html MSDS Vapor Pressure]
* [http://www.ilpi.com/msds/ref/vaporpressure.html MSDS Vapor Pressure]
* [http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/kinetic/vappre.html#c2 Hyperphysics]
* [http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/kinetic/vappre.html#c2 Hyperphysics]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:04, 30 มกราคม 2556

ความดันไอ (อังกฤษ: vapor pressure) คือ ความดัน (ถ้าไอถูกผสมด้วยก๊าซอื่น เรียก ความดันย่อย) ของไอ (ไอนี้เกิดจากโมเลกุลหรืออะตอมหนีจากของเหลวหรือของแข็ง) ที่อุณหภูมิกำหนดสำหรับสารเฉพาะ มีความดันที่ซึ่งไอของสารนั้นอยู่ในจุด สมดุล กับสถานะที่เป็น ของเหลว หรือ ของแข็ง ของมัน นี่คือ ความดันไอสมดุล (equilibrium vapor pressure) หรือ ความดันไออิ่มตัว (saturation vapor pressure) ของสาร ที่อุณหภูมินั้น คำว่าความดันไอบ่อยครั้งเข้าใจว่าเป็น ความดันไออิ่มตัว สารที่มีความดันไอสูงที่อุณหภูมิปกติเราเรียกภาวการณ์นี้ว่าระเหย (volatile)

ความดันไอสมดุลของของแข็ง

ความดันไอสมดุลหมายถึงความดันเมื่อถึงสถานะควบแน่น (condensed phase) ที่อยู่ในภาวะสมดุลกับไอของมัน ในกรณีของภาวะสมดุลของผลึกของแข็ง ความดันเมื่ออัตราการระเหิดของของแข็งเท่ากับอัตราการหายกลายเป็นไอของมัน สำหรับของแข็งส่วนใหญ่ความดันนี้ต่ำมาก ยกเว้น แนพทาลีน (naphthalene) และน้ำแข็ง วัสดุที่เป็นของแข็งทั้งหมดมีความดันไอที่ต่ำมากและยากมากที่จะหาค่ามัน ซึ่งต้องมีวิธีพิเศษที่จะหาค่ามันคือ

  • เทอร์โมกราวิเมตทรี (thermogravimetry)
  • ก๊าซทรานสไปเรชัน (gas transpiration)

ความสัมพันธ์ระหว่างความดันไอของแข็งและของเหลว

เป็นที่น่าสังเกตว่าความดันไอของสารที่เป็นของเหลวปกติจะมีความแตกต่างจากความดันไอของสารเดียวกันที่อยู่ในสถานะของแข็ง ถ้าอุณหภูมิของความดันไอของของเหลวสูงกว่าของของแข็ง ของเหลวจะระเหยกลายเป็นไอแต่ไอจะควบแน่นเป็นของแข็ง นั่นคือของเหลวถูกทำให้เยือกแข็ง (freezing) ถ้าอุณหภูมิของความดันไอของของเหลวต่ำกว่าของของแข็ง ของแข็งจะระเหยกลายเป็นไอแต่ไอจะควบแน่นเป็นของเหลว นั่นคือของแข็งถูกทำให้หลอมเหลว ที่อุณหภูมิที่เท่ากัน ของสองความดันไอที่ซึ่มีความสมดุลระหว่าง สถานะ ของเหลวและของแข็ง ที่อุณหภูมินี้จะเป็นจุดหลอมเหลว (melting point)

ความดันไอน้ำ

ที่อุณหภูมิ น้ำ เดือด ความดันประมาณ 100 kPa สามารถคำนวณได้โดยสูตรดังนี้

ที่ซึ่งอุณหภูมิเป็นองศา Celsius และความดัน p เป็น ปาสคาล ค่าความดันไอสามารถจะคำนวณจากค่า p จากสมการ.

Raoult's law ใช้หาค่าความดันไอของของเหลวผสม

แหล่งข้อมูลอื่น