ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
ส่วนเจ้าฟ้านเรนทรนั้นดำรงเพศบรรพชิตตลอดมา โดยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงสถาปนาให้[[ทรงกรม]]ที่ ''กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์'' เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ทรงสนิทกับสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศเป็นอย่างยิ่ง จนทำให้[[สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนเสนาพิทักษ์]] (เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร) เกิดความระเวงและลอบทำร้ายเจ้าฟ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์แต่ท่านไม่ทรงได้รับบาดเจ็บ เหตุการณ์ในครั้งนั้นทำให้สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวทรงพระพิโรธกรมขุนเสนาพิทักษ์มากและมีพระราชโองการให้จับตัวกรมขุนเสนาพิทักษ์มาให้ได้ แต่ในระหว่างกรมขุนเสนาพิทักษ์ได้เสด็จออกผนวชจึงทรงพ้นจากภัยในครั้งนี้ได้
ส่วนเจ้าฟ้านเรนทรนั้นดำรงเพศบรรพชิตตลอดมา โดยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงสถาปนาให้[[ทรงกรม]]ที่ ''กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์'' เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ทรงสนิทกับสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศเป็นอย่างยิ่ง จนทำให้[[สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนเสนาพิทักษ์]] (เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร) เกิดความระเวงและลอบทำร้ายเจ้าฟ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์แต่ท่านไม่ทรงได้รับบาดเจ็บ เหตุการณ์ในครั้งนั้นทำให้สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวทรงพระพิโรธกรมขุนเสนาพิทักษ์มากและมีพระราชโองการให้จับตัวกรมขุนเสนาพิทักษ์มาให้ได้ แต่ในระหว่างกรมขุนเสนาพิทักษ์ได้เสด็จออกผนวชจึงทรงพ้นจากภัยในครั้งนี้ได้


เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ไม่ปรากฏใน[[พระราชพงศาวดาร]]ว่าสิ้นพระชนม์เมื่อใด แต่มีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะก่อนที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจะทรงสถาปนา[[กรมขุนเสนาพิทักษ์]]ขึ้นเป็น[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]เมื่อปี พ.ศ. 2284 แต่อีกข้อสันนิษฐานหนึ่งว่าน่าจะเป็นช่วงหลังพิธีโกนจุกบุตรชายคนที่สองของ หลวงพินิจอักษร ที่ชื่อ ทองด้วง (ต่อมาภายหลังเด็กชายผู้นี้บิดาได้ถวายตัวให้เป็นมหาดเล็กในวังสมเด็จเจ้าฟ้าอุมทุมพร กรมขุนพรพินิต และรับราชการเรื่อยมาจนเป็นหลวงยกกระบัตร เมืองราชบุรี ในช่วงปลายกรุงศรีอยุธยา และได้เป็นเจ้าพระยาจักรีในสมัยธนบุรี ) ซึ่งเกิดในปี พ.ศ. 2279 และเข้าพิธีโกนจุกในราวปี พ.ศ. 2291 โดยประธานในพิธีโกนจุกคือ พระภิกษุเจ้าฟ้านเรนทร และพระภิกษุเจ้าฟ้าอุทุมพร (หรือพระภิกษุเจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิต ก่อนขึ้นครองราชย์เป็น พระเจ้าอุทุมพร ในปี พ.ศ. 2301)
เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ไม่ปรากฏใน[[พระราชพงศาวดาร]]ว่าสิ้นพระชนม์เมื่อใด แต่มีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะก่อนที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจะทรงสถาปนา[[กรมขุนเสนาพิทักษ์]]ขึ้นเป็น[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]เมื่อปี พ.ศ. 2284 แต่มีอีกข้อสันนิษฐานหนึ่งว่าน่าจะว่าสิ้นพระชนม์หลัง พ.ศ. 2291 เนื่องจากมีหลักฐานเกี่ยวกับพิธีโสกันต์ (โกนจุก)เจ้านายวังหลวงและวังหน้าในช่วงรัชกาลที่ 1 ของกรุงรัตนโกสินทร์ ว่าได้มีการจัดพิธีให้เหมือนกับสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยมีเหตุจากสมเด็จพระชนกของรัชการที่ 1 ซึ่งขณะนั้นยังเป็นหลวงพินิจอักษร ได้จัดพิธีโกนจุกบุตรชายคนที่สองของ ชื่อ ทองด้วง (ต่อมาภายหลังเด็กชายผู้นี้บิดาได้ถวายตัวให้เป็นมหาดเล็กในวังสมเด็จเจ้าฟ้าอุมทุมพร กรมขุนพรพินิต และรับราชการเรื่อยมาจนเป็นหลวงยกกระบัตร เมืองราชบุรี ในช่วงปลายกรุงศรีอยุธยา และได้เป็นเจ้าพระยาจักรี ในสมัยธนบุรี และปราบดาภิเษกเป็นรัชกาลที่ 1 ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์)โดยบุตรของหลวงพินิจอักษรผู้นี้เกิดในปี พ.ศ. 2279 และน่าจะเข้าพิธีโกนจุกในราวปี พ.ศ. 2291 (อายุครบ 12 ปีย่าง 13 ปี) โดยประธานในพิธีโกนจุกคือ พระภิกษุเจ้าฟ้านเรนทร และพระภิกษุเจ้าฟ้าอุทุมพร (หรือพระภิกษุเจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิต ก่อนขึ้นครองราชย์เป็น พระเจ้าอุทุมพร ในปี พ.ศ. 2301)
== พระตระกูล ==
== พระตระกูล ==
<center>
<center>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:53, 30 มกราคม 2556

กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์

เจ้าฟ้านเรนทร
เจ้าฟ้าต่างกรม
ราชวงศ์ราชวงศ์บ้านพลูหลวง
พระราชบิดาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ
พระราชมารดากรมหลวงราชานุรักษ์

เจ้าฟ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ หรือ เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ มีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้านเรนทร เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระที่ประสูติแต่สมเด็จพระอัครมเหสี พระองค์มีพระอนุชา 2 พระองค์ ได้แก่ เจ้าฟ้าอภัยและเจ้าฟ้าปรเมศร์

ก่อนสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระจะเสด็จสวรรคตนั้น สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวได้แสดงพระราชประสงค์ที่จะให้พระราชโอรสของพระองค์สืบต่อราชสมบัติแห่งกรุงศรีอยุธยา ทั้งๆ ที่ในขณะนั้นเจ้าฟ้าพร พระอนุชาในพระองค์ทรงดำรงตำแหน่งที่กรมพระราชวังบวรสถานมงคลอยู่ ในขั้นแรกนั้นสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์ที่จะให้เจ้าฟ้านเรนทรเสด็จขึ้นครองราชย์แต่พระองค์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยเนื่องจากพระมหาอุปราชก็ยังคงมีพระชนม์อยู่ พระองค์จึงทรงออกผนวช ดังนั้น สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวจึงทรงยกราชสมบัติให้เจ้าฟ้าอภัยสืบราชสันตติวงศ์ต่อ

เหตุการณ์ในครั้งนี้สร้างความไม่พอใจให้กับกรมพระราชวังบวรเป็นอย่างมาก ซึ่งนำไปสู่การเกิดศึกกลางเมืองระหว่างวังหน้าและวังหลวงขึ้น โดยกรมพระราชวังบวรเป็นฝ่ายชนะและเสด็จขึ้นครองราชสมบัติทรงพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หลังจากนั้น พระองค์มีพระราชดำรัสให้นำตัวเจ้าฟ้าอภัยและเจ้าฟ้าปรเมศร์ไปสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ตามโบราณราชประเพณี

ส่วนเจ้าฟ้านเรนทรนั้นดำรงเพศบรรพชิตตลอดมา โดยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงสถาปนาให้ทรงกรมที่ กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ทรงสนิทกับสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศเป็นอย่างยิ่ง จนทำให้สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนเสนาพิทักษ์ (เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร) เกิดความระเวงและลอบทำร้ายเจ้าฟ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์แต่ท่านไม่ทรงได้รับบาดเจ็บ เหตุการณ์ในครั้งนั้นทำให้สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวทรงพระพิโรธกรมขุนเสนาพิทักษ์มากและมีพระราชโองการให้จับตัวกรมขุนเสนาพิทักษ์มาให้ได้ แต่ในระหว่างกรมขุนเสนาพิทักษ์ได้เสด็จออกผนวชจึงทรงพ้นจากภัยในครั้งนี้ได้

เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ไม่ปรากฏในพระราชพงศาวดารว่าสิ้นพระชนม์เมื่อใด แต่มีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะก่อนที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจะทรงสถาปนากรมขุนเสนาพิทักษ์ขึ้นเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลเมื่อปี พ.ศ. 2284 แต่มีอีกข้อสันนิษฐานหนึ่งว่าน่าจะว่าสิ้นพระชนม์หลัง พ.ศ. 2291 เนื่องจากมีหลักฐานเกี่ยวกับพิธีโสกันต์ (โกนจุก)เจ้านายวังหลวงและวังหน้าในช่วงรัชกาลที่ 1 ของกรุงรัตนโกสินทร์ ว่าได้มีการจัดพิธีให้เหมือนกับสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยมีเหตุจากสมเด็จพระชนกของรัชการที่ 1 ซึ่งขณะนั้นยังเป็นหลวงพินิจอักษร ได้จัดพิธีโกนจุกบุตรชายคนที่สองของ ชื่อ ทองด้วง (ต่อมาภายหลังเด็กชายผู้นี้บิดาได้ถวายตัวให้เป็นมหาดเล็กในวังสมเด็จเจ้าฟ้าอุมทุมพร กรมขุนพรพินิต และรับราชการเรื่อยมาจนเป็นหลวงยกกระบัตร เมืองราชบุรี ในช่วงปลายกรุงศรีอยุธยา และได้เป็นเจ้าพระยาจักรี ในสมัยธนบุรี และปราบดาภิเษกเป็นรัชกาลที่ 1 ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์)โดยบุตรของหลวงพินิจอักษรผู้นี้เกิดในปี พ.ศ. 2279 และน่าจะเข้าพิธีโกนจุกในราวปี พ.ศ. 2291 (อายุครบ 12 ปีย่าง 13 ปี) โดยประธานในพิธีโกนจุกคือ พระภิกษุเจ้าฟ้านเรนทร และพระภิกษุเจ้าฟ้าอุทุมพร (หรือพระภิกษุเจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิต ก่อนขึ้นครองราชย์เป็น พระเจ้าอุทุมพร ในปี พ.ศ. 2301)

พระตระกูล

พระตระกูลในเจ้าฟ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
 
 
 
 
 
 
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
พระราชเทวี สิริกัลยาณี
 
 
 
 
 
 
 
สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
พญาแสนหลวง
(เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่)
 
 
 
 
 
 
 
พระนางกุสาวดี
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ไม่ปรากฏพระนาม
 
 
 
 
 
 
 
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ไม่ปรากฏพระนาม
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
เจ้าฟ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กรมหลวงราชานุรักษ์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

อ้างอิง

  • พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ภาค 1. สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พิมพ์ขึ้นเป็นส่วนพระราชกุศลทานมัยในงานพระศพ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวรเสฐสุดา, พระอรรคชายาเธอ กรมขุนอรรควรราชกัญญา, สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนพิจิตรเจษฎจันทร์ และสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี. พ.ศ. 2455. {{cite book}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |year= (help)

แม่แบบ:เจ้าต่างกรมสมัยกรุงศรีอยุธยา