ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กุ้งกุลาดำ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Palmy U-U (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
'''กุ้งกุลาดำ''' หรือ '''กุ้งม้าลาย''' (Tiger prawn, ''Penaeus monodon'') เป็นกุ้งทะเล ขนาดประมาณ 18 - 25 ซม. เป็นกุ้งที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์ Penaeidae อาศัยอยู่ในเขตร้อน ชอบอาศัยอยู่ในบริเวณน้ำลึก ห่างออกจากฝั่งและชอบพื้นทะเลที่เป็นดินทราย สามารถเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ทนอยู่ในน้ำที่มีอุณหภูมิสูงและความเค็มต่ำ เช่น บริเวณ[[ป่าชายเลน]] ได้ดี และหาอาหารจำพวก[[แพลงก์ตอน]] [[หนอน]] [[แมลงน้ำ]]
'''กุ้งกุลาดำ''' หรือ '''กุ้งม้าลาย''' (Tiger prawn, ''Penaeus monodon'') เป็นกุ้งทะเล ขนาดประมาณ 18 - 25 ซม. เป็นกุ้งที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์ Penaeidae อาศัยอยู่ในเขตร้อน ชอบอาศัยอยู่ในบริเวณน้ำลึก ห่างออกจากฝั่งและชอบพื้นทะเลที่เป็นดินทราย สามารถเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ทนอยู่ในน้ำที่มีอุณหภูมิสูงและความเค็มต่ำ เช่น บริเวณ[[ป่าชายเลน]] ได้ดี และหาอาหารจำพวก[[แพลงก์ตอน]] [[หนอน]] [[แมลงน้ำ]]


==ลักษณะทั่วไป==
== ลักษณะทั่วไป ==
กุ้งกุลาดำมีหนวดลายจางมากไม่เด่นชัด แก้มอยู่ในแนวระนาบ และสันที่อยู่สองข้างโคนกรี ยาวเกือบถึงฟันกรีอันหลังสุด ซึ่งมีสันแนวข้างเฉียงชี้ไปทางนัยน์ตา นอกจากนี้มีลักษณะอื่น ๆ ที่เด่นชัดคือ ลำตัวสีแดงอมน้ำตาลถึงน้ำตาลเข้มมีลายพาดขวางด้านหลังประมาณ 9 ลาย และสีออกน้ำตาลเข้มข้างแถบสีขาว ด้านบนของกรีมีฟัน 6-8 ซี่ ด้านล่างมี 2-4 ซี่ ขอบปลายหางและขาว่ายน้ำมีขนสีแดง และมีขนาดตัวประมาณ 18 - 25 ซม.
กุ้งกุลาดำมีหนวดลายจางมากไม่เด่นชัด แก้มอยู่ในแนวระนาบ และสันที่อยู่สองข้างโคนกรี ยาวเกือบถึงฟันกรีอันหลังสุด ซึ่งมีสันแนวข้างเฉียงชี้ไปทางนัยน์ตา นอกจากนี้มีลักษณะอื่น ๆ ที่เด่นชัดคือ ลำตัวสีแดงอมน้ำตาลถึงน้ำตาลเข้มมีลายพาดขวางด้านหลังประมาณ 9 ลาย และสีออกน้ำตาลเข้มข้างแถบสีขาว ด้านบนของกรีมีฟัน 6-8 ซี่ ด้านล่างมี 2-4 ซี่ ขอบปลายหางและขาว่ายน้ำมีขนสีแดง และมีขนาดตัวประมาณ 18 - 25 ซม.
==ถิ่นอาศัย==
== ถิ่นอาศัย ==
กุ้งกุลาดำอาศัยอยู่ทั่วไปใน[[ทวีปเอเชีย]] ใน[[ประเทศไทย]]พบแพร่กระจายทั่วไปใน[[อ่าวไทย]] แต่จะพบมากบริเวณ[[เกาะช้าง]] บริเวณนอกฝั่ง[[จังหวัดชุมพร]]ถึง[[จังหวัดนครศรีธรรมราช]]และทางฝั่ง[[มหาสมุทรอินเดีย]] ([[ทะเลอันดามัน]]) บริเวณนอกฝั่งของ[[จังหวัดภูเก็ต]] และ[[จังหวัดระนอง]] ชอบอาศัยอยู่ในบริเวณที่มีพื้นดินเป็นทรายปนโค
กุ้งกุลาดำอาศัยอยู่ทั่วไปใน[[ทวีปเอเชีย]] ใน[[ประเทศไทย]]พบแพร่กระจายทั่วไปใน[[อ่าวไทย]] แต่จะพบมากบริเวณ[[เกาะช้าง]] บริเวณนอกฝั่ง[[จังหวัดชุมพร]]ถึง[[จังหวัดนครศรีธรรมราช]]และทางฝั่ง[[มหาสมุทรอินเดีย]] ([[ทะเลอันดามัน]]) บริเวณนอกฝั่งของ[[จังหวัดภูเก็ต]] และ[[จังหวัดระนอง]] ชอบอาศัยอยู่ในบริเวณที่มีพื้นดินเป็นทรายปนโค
==ประโยชน์==
== ประโยชน์ ==
เพาะเลี้ยงกันแพร่หลายในประเทศของ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ใช้บริโภคในประเทศ และส่งไปจำหน่ายต่างประเทศ
เพาะเลี้ยงกันแพร่หลายในประเทศของ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ใช้บริโภคในประเทศ และส่งไปจำหน่ายต่างประเทศ



รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:11, 30 มกราคม 2556

กุ้งกุลาดำ
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Arthropoda
ไฟลัมย่อย: Crustacea
ชั้น: Malacostraca
อันดับ: Decapoda
อันดับย่อย: Dendrobranchiata
วงศ์: Penaeidae
สกุล: Penaeus
สปีชีส์: P.  monodon
ชื่อทวินาม
Penaeus monodon
Fabricius, 1798

กุ้งกุลาดำ หรือ กุ้งม้าลาย (Tiger prawn, Penaeus monodon) เป็นกุ้งทะเล ขนาดประมาณ 18 - 25 ซม. เป็นกุ้งที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์ Penaeidae อาศัยอยู่ในเขตร้อน ชอบอาศัยอยู่ในบริเวณน้ำลึก ห่างออกจากฝั่งและชอบพื้นทะเลที่เป็นดินทราย สามารถเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ทนอยู่ในน้ำที่มีอุณหภูมิสูงและความเค็มต่ำ เช่น บริเวณป่าชายเลน ได้ดี และหาอาหารจำพวกแพลงก์ตอน หนอน แมลงน้ำ

ลักษณะทั่วไป

กุ้งกุลาดำมีหนวดลายจางมากไม่เด่นชัด แก้มอยู่ในแนวระนาบ และสันที่อยู่สองข้างโคนกรี ยาวเกือบถึงฟันกรีอันหลังสุด ซึ่งมีสันแนวข้างเฉียงชี้ไปทางนัยน์ตา นอกจากนี้มีลักษณะอื่น ๆ ที่เด่นชัดคือ ลำตัวสีแดงอมน้ำตาลถึงน้ำตาลเข้มมีลายพาดขวางด้านหลังประมาณ 9 ลาย และสีออกน้ำตาลเข้มข้างแถบสีขาว ด้านบนของกรีมีฟัน 6-8 ซี่ ด้านล่างมี 2-4 ซี่ ขอบปลายหางและขาว่ายน้ำมีขนสีแดง และมีขนาดตัวประมาณ 18 - 25 ซม.

ถิ่นอาศัย

กุ้งกุลาดำอาศัยอยู่ทั่วไปในทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบแพร่กระจายทั่วไปในอ่าวไทย แต่จะพบมากบริเวณเกาะช้าง บริเวณนอกฝั่งจังหวัดชุมพรถึงจังหวัดนครศรีธรรมราชและทางฝั่งมหาสมุทรอินเดีย (ทะเลอันดามัน) บริเวณนอกฝั่งของจังหวัดภูเก็ต และจังหวัดระนอง ชอบอาศัยอยู่ในบริเวณที่มีพื้นดินเป็นทรายปนโค

ประโยชน์

เพาะเลี้ยงกันแพร่หลายในประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใช้บริโภคในประเทศ และส่งไปจำหน่ายต่างประเทศ