ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบการผลิตแบบลีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JYBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: fa:تولید ناب
SantoshBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: mr:लीन
บรรทัด 34: บรรทัด 34:
[[ja:リーン生産方式]]
[[ja:リーン生産方式]]
[[kn:ನೇರ ಉತ್ಪಾದನೆ (ಲೀನ್ ಮ್ಯಾನುಫ್ಯಾಕ್ಚರಿಂಗ್)]]
[[kn:ನೇರ ಉತ್ಪಾದನೆ (ಲೀನ್ ಮ್ಯಾನುಫ್ಯಾಕ್ಚರಿಂಗ್)]]
[[mr:लीन]]
[[nl:Lean manufacturing]]
[[nl:Lean manufacturing]]
[[no:Lean]]
[[no:Lean]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:06, 16 มกราคม 2556

การผลิตแบบลีน (อังกฤษ: lean manufacturing) คือ การใช้หลักการชุดหนึ่งในการระบุและกำจัดความสูญเปล่า เพื่อส่งมอบสินค้าที่ลูกค้าต้องการ และทันเวลา หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง ลีน คือ ปรัชญาในการผลิต ซึ่งถือว่าความสูญเปล่านั้น เป็นตัวทำให้เวลาที่ใช้ในการผลิตยาวนานขึ้น และควรมีการนำเทคนิคต่างๆ มาใช้ในการกำจัดความสูญเปล่าออกไป[1] โดยมุ่งเน้นกำจัดความสูญเสีย (อังกฤษ:Waste/Muda) ทั้ง 7 ประการ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำงาน ได้แก่

  1. การเคลื่อนไหวที่ไม่จำเป็น (อังกฤษ:Unnecessary Motion)
  2. การรอคอย (อังกฤษ:Idle Time/Delay)
  3. กระบวนการที่ขาดประสิทธิผล (อังกฤษ:Non-effective Process)
  4. การผลิตของเสียและแก้ไขงานเสีย (อังกฤษ:Defects and Reworks)
  5. การผลิตมากเกินไป (อังกฤษ:Overproduction)
  6. การเก็บวัตถุดิบคงคลังที่ไม่จำเป็น (อังกฤษ:Unnecessary Stock)
  7. การขนส่ง (อังกฤษ:Transportation)

อ้างอิง