ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทศบาลเมืองบ้านบึง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
''"บ้านบึงสะอาดสดชื่น คนนับหมื่นกินเจ ประเพณีวิ่งควาย เซียนซือไท้ศักดิ์สิทธิ์ ลือทั่วทิศขนมจีน"''
''"บ้านบึงสะอาดสดชื่น คนนับหมื่นกินเจ ประเพณีวิ่งควาย เซียนซือไท้ศักดิ์สิทธิ์ ลือทั่วทิศขนมจีน"''


'''ที่ตั้งและอาณาเขต'''
=== ลักษณะที่ตั้ง ===

'''ลักษณะที่ตั้ง'''
เทศบาลเมืองบ้านบึง เดิมเป็นสุขาภิบาลและได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็น เทศบาลตำบลบ้านบึง เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2530
เทศบาลเมืองบ้านบึง เดิมเป็นสุขาภิบาลและได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็น เทศบาลตำบลบ้านบึง เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2530
ตามพระราชกฤษฎีจัดตั้งเทศบาลตำบลบ้านบึง อำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เล่ม 104
ตามพระราชกฤษฎีจัดตั้งเทศบาลตำบลบ้านบึง อำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เล่ม 104

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:17, 8 มกราคม 2556

เทศบาลเมืองบ้านบึง
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันThetsaban Tambon Ban Bueng Town Municipality
คำขวัญ: 
บ้านบึงสะอาดสดชื่น คนนับหมื่นกินเจ ประเพณีวิ่งควาย เซียนซือไท้ศักดิ์สิทธิ์ ลือทั่วทิศขนมจีน
ประเทศ ไทย
จังหวัด[[จังหวัด{{{province}}}|{{{province}}}]]
อำเภอ{{{district}}}
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีนายสุรสิตย์ กังวลกิจ
ประชากร
 • ทั้งหมด17,209 คน
รหัส อปท.{{{code}}}
ที่อยู่
สำนักงาน
เลขที่ 335 ถนนชลบุรี-บ้านบึง
ตำบลบ้านบึง อำเภอบ้านบึง
จังหวัดชลบุรี 20170
โทรศัพท์0 3844 3999
เว็บไซต์http://www.banbung.in.th/banbung.html http://www.banbung.in.th/
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

เทศบาลเมืองบ้านบึง หรือ เมืองบ้านบึง ตั้งอยู่ในเขตอำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี

ประวัติ

ซึ่งตามตำนานการตั้งชุมชนครั้งแรกของบ้านบึง ตั้งขึ้นรอบ ๆ บริเวณบึงใหญ่ของวัดบึงบน หรือ วัดบุญญฤทธยราม ในปัจจุบันไม่สามารถพบเห็นบึงใหญ่นั้นได้แล้ว การตั้งชุมชนครั้งนั้น ถือเป็นการเริ่มต้นของเมืองบ้านบึง เทศบาลตำบลบ้านบึงได้ยกฐานะมาจากสุขาภิบาลบ้านบึง เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2530 และเมื่อปี พ.ศ. 2544 จึงได้ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองบ้านบึง[1]

สัญลักษณ์ประจำบ้านบึง

ตราเทศบาลเมืองบ้านบึง

ดวงตราของเทศบาล มีสัญลักษณ์ของบ้านและบึงใหญ่ ในตราเทศบาลปรากฏรูปเขาสองลูก คือ เทือกเขาเขียวและเขาโหม่ง ซึ่งเป็นภูเขาที่กั้นอำเภอบ้านบึงกับอำเภอเมืองชลบุรีและอำเภอศรีราชา ส่วนรูปต้นอ้อยเป็นซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจของบ้านบึง และนำรายได้มาสู่บ้านบึงเป็นจำนวนมาก จึงขาดไม่ได้ที่ขะอยู่ในตราสัญลักษณ์

คำขวัญเมืองบ้านบึง

"บ้านบึงสะอาดสดชื่น คนนับหมื่นกินเจ ประเพณีวิ่งควาย เซียนซือไท้ศักดิ์สิทธิ์ ลือทั่วทิศขนมจีน"

ลักษณะที่ตั้ง

          เทศบาลเมืองบ้านบึง เดิมเป็นสุขาภิบาลและได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็น เทศบาลตำบลบ้านบึง เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2530
   ตามพระราชกฤษฎีจัดตั้งเทศบาลตำบลบ้านบึง อำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เล่ม 104
   ตอนที่ 183 ลงวันที่ 14 กันยายน 2530 และต่อมาได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองบ้านบึงตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง
  เทศบาลเมืองบ้านบึง พ.ศ.2544 เล่ม 118 ตอนที่ 19 ก ลงวันที่ 26 ตุลาคม 2544 มีผลบังคับใช้ วันที่ 27 ตุลาคม 2544 
 มีพื้นที่ 8.02 ตารางกิโลเมตร ( 5,012.50 ไร่ ) อยู่ห่างจากกรุงเทพฯประมาณ 80 กิโลเมตร และห่างจากตัวเมืองชลบุรี
  ประมาณ 15 กิโลเมตร
         คณะเทศมนตรีในสมัยนั้นได้พิจารณาเห็นว่าเทศบาลเมืองบ้านบึงได้รับการยกฐานะจากสุขาภิบาลบ้านบึงเป็นเทศบาลตำบลบ้านบึง
   แล้วยังไม่มีสำนักงานเป็นของตนเอง โดยใช้ศาลาประชาคมเป็นสำนักงานชั่วคราว โดยได้รับการโอนมาจากสุขาภิบาลบ้านบึง
  ซึ่งก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2506 คณะเทศมนตรีจึงได้พิจารณาจัดซื้อที่ดินเพื่อปลูกสร้างอาคารสำนักงานเทศบาลมี 
  เนื้อที่ 10 ไร่ 53 ตารางวา ตั้งอยู่บริเวณริมถนนชลบุรี-บ้านบึง
  โดยซื้อที่ดินจากเอกชนในวงเงิน 5,000,000 บาท โดยใช้จ่ายเงินในงบประมาณของเทศบาลในปี งบประมาณ 2531 
 และปีงบประมาณ 2532 สำหรับอาคารสำนักงานเทศบาลได้ขอกู้เงินทุนส่งเสริมกิจการเทศบาล ในวงเงิน 11,761,000 บาท
  เพื่อก่อสร้างอาคารสำนักงานเทศบาลโดยมีรายละเอียด คือ
              - ลักษณะอาคารคอนกรีต 3 ชั้น มีดาดฟ้า ขนาด 18 x 30 เมตร
              - ผู้ออกแบบประมาณราคา กรมโยธาและฝังเมือง
              - ผู้ก่อสร้าง หจก.ชุนหลี แปดริ้ว
              - ระยะเวลาก่อสร้างแล้วเสร็จภายใน 330 วัน
              - คิดค่าก่อสร้างรวมทั้งสิ้น 11,700,000 บาท
           เทศบาลได้รับมอบอาคารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2534 และได้ยกฐานะสถานที่ทำงานจากสำนักงานหลังเก่ามา
   สำนักงานหลังใหม่นี้ เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2534

ประชากร

การนับถือศาสนา

การประกอบอาชีพ

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น