ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สายหลักโทไกโด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 67: บรรทัด 67:
***โตเกียว – อะตะมิ: {{convert|104.6|km|mi|1|abbr=on}}
***โตเกียว – อะตะมิ: {{convert|104.6|km|mi|1|abbr=on}}
***ชินะงะวะ – ชิง-คะวะซะกิ – สึรุมิ: {{convert|17.8|km|mi|1|abbr=on}}
***ชินะงะวะ – ชิง-คะวะซะกิ – สึรุมิ: {{convert|17.8|km|mi|1|abbr=on}}
***ฮะมะมะสึโช – สถานีบรรทุกโตเกียว – คะวะซะกิ Freight Terminal – ฮะมะ-คะวะซะกิ: {{convert|20.6|km|mi|1|abbr=on}} ([[สายบรรทุกโทไกโด]])
***ฮะมะมะสึโช – สถานีบรรทุกโตเกียว – สถานีบรรทุกคะวะซะกิ – ฮะมะ-คะวะซะกิ: {{convert|20.6|km|mi|1|abbr=on}} ([[สายบรรทุกโทไกโด]])
***สึรุมิ – ฮัตโช-นะวะเตะ: {{convert|2.3|km|mi|1|abbr=on}} (สายบรรทุกโทไกโด)
***สึรุมิ – ฮัตโช-นะวะเตะ: {{convert|2.3|km|mi|1|abbr=on}} (สายบรรทุกโทไกโด)
***สึรุมิ – ฮิงะชิ-ทะกะชิมะ – ซะกุระงิโช: {{convert|8.5|km|mi|1|abbr=on}} ([[สายทะกะชิมะ]])
***สึรุมิ – ฮิงะชิ-ทะกะชิมะ – ซะกุระงิโช: {{convert|8.5|km|mi|1|abbr=on}} ([[สายทะกะชิมะ]])

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:11, 7 มกราคม 2556

สายหลักโทไกโด
東海道本線
221 ซีรีย์ ในสายหลักโทไกโด ช่วงเคียวโตะ
ข้อมูลทั่วไป
เจ้าของJR ตะวันออก
JR ตอนกลาง
JR ตะวันตก
ที่ตั้งภูมิภาค คันโต, โทไก, คันไซ
ปลายทาง
จำนวนสถานี166 (เฉพาะขนส่งผู้โดยสาร)
การดำเนินงาน
รูปแบบทางรถไฟหนัก
ประวัติ
เปิดเมื่อพ.ศ. 2415
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง713.6 km (443.4 mi)
รางกว้าง1067
ระบบจ่ายไฟ1,500 V DC, จ่ายไฟด้านบน
ความเร็ว130 กิโลเมตร/ชั่วโมง
แผนที่เส้นทาง
ไฟล์:Tokaidohonsen.png

ทางรถไฟ สายหลักโทไกโด (ญี่ปุ่น: 東海道本線โรมาจิTōkaidō-honsen) เป็นทางรถไฟที่ชุกชุมที่สุด[1]ในประเทศญี่ปุ่น เชื่อมระหว่างมหานครโตเกียว กับ นครโคเบะ ด้วยระยะทางทั้งหมด 589.5 กิโลเมตร โดยไม่นับเส้นทางขนส่งสินค้าระหว่างเมืองรายทาง อีกทั้งรถไฟความเร็วสูง โทไกโด ชิงกันเซ็ง ยังวิ่งขนานไปกับเส้นทางนี้ด้วย

สายหลักโทไกโดถูกครอบครองและดำเนินงานโดย 3 บริษัทรถไฟญี่ปุ่น คือ

ข้อมูลทั่วไป

E231 ซีรีส์ EMU ในสายหลักโทไกโด
  • ระยะทางทั้งหมด: 713.6 km (443.4 mi) (รวมสายกิ่ง; โตเกียว – โคเบะ ยาว 589.5 km (366.3 mi))
    • บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR ตะวันออก) (บริการและรางคู่)
      • โตเกียว – อะตะมิ: 104.6 km (65.0 mi)
      • ชินะงะวะ – ชิง-คะวะซะกิ – สึรุมิ: 17.8 km (11.1 mi)
      • ฮะมะมะสึโช – สถานีบรรทุกโตเกียว – สถานีบรรทุกคะวะซะกิ – ฮะมะ-คะวะซะกิ: 20.6 km (12.8 mi) (สายบรรทุกโทไกโด)
      • สึรุมิ – ฮัตโช-นะวะเตะ: 2.3 km (1.4 mi) (สายบรรทุกโทไกโด)
      • สึรุมิ – ฮิงะชิ-ทะกะชิมะ – ซะกุระงิโช: 8.5 km (5.3 mi) (สายทะกะชิมะ)
      • สึรุมิ – โยะโกะฮะมะ-ฮะซะวะ – ฮิงะชิ-โทะสึกะ: 16.0 km (9.9 mi) (สายบรรทุกโทไกโด)
    • บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลาง (JR ตอนกลาง) (บริการและรางคู่)
      • อะตะมิ – ไมบะระ: 341.3 km (212.1 mi) (3.3 km (2.1 mi) ระหว่าง คะนะยะมะ – นะโงะยะ คาบเกี่ยวกับ สายหลักชูโอ)
      • โองะกิ – มิโนะ-อะกะซะกะ: 5.0 km (3.1 mi) (สายย่อยมิโนะ-อะกะซะกะ)
      • โองะกิ – (ชิง-ทะรุอิ) – เซะกิงะฮะระ: 13.8 km (8.6 mi) (สายชิง-ทะรุอิ)
    • บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตก (JR ตะวันตก) (บริการและรางคู่)
      • ไมบะระ – โคเบะ: 143.6 km (89.2 mi)
      • สถานีบรรทุกเคียวโตะ – ทัมบะงุชิ: 3.3 km (2.1 mi) (ไม่ใช้สำหรับขบวนขนส่งผู้โดยสาร)
      • ซุอิตะ – (ลานรถไฟมิยะฮะระ) – อะมะงะซะกิ: 10.7 km (6.6 mi) (สายบรรทุกฮปโป)
      • ซุอิตะ – อุเมะดะ – ฟุกุชิมะ: 8.5 km (5.3 mi) (สายบรรทุกอุเมะดะ, ในใช้งาน ฮะรุกะ เอ็กซเพรส จำกัด)
    • บริษัทรถไฟบรรทุกญี่ปุ่น (JR บรรทุก) (บริการและรางคู่)
      • เขตสัญญาณซันโน – นะโงะยะ-มินะโตะ: 6.2 km (3.9 mi) (สายนะโงะยะ-มินะโตะ)
      • เขตสัญญาณซุอิตะ – สถานีบรรทุกโอซะกะ: 8.7 km (5.4 mi) (สายสถานีโอซะกะ)
    • บริษัทรถไฟบรรทุกญี่ปุ่น (JR บรรทุก) (บริการเฉพาะ)
      • ชินะงะวะ – อะตะมิ: 97.8 km (60.8 mi)
      • ชินะงะวะ – เขตสัญญาณชิง-สึรุมิ: 13.9 km (8.6 mi)
      • สถานีบรรทุกโตเกียว – ฮะมะ-คะวะซะกิ: 12.9 km (8.0 mi)
      • สึรุมิ – โยะโกะฮะมะ-ฮะซะวะ – ฮิงะชิ-โทะสึกะ: 16.0 km (9.9 mi)
      • สึรุมิ – ฮัตโช-นะวะเตะ: 2.3 km (1.4 mi)
      • สึรุมิ – ชินโก – ซะกุระงิโช: 11.2 km (7.0 mi)
      • อะตะมิ – ไมบะระ: 341.3 km (212.1 mi)
      • เขตสัญญาณมินะมิ-อะระโอะ – เซะกิงะฮะระ: 10.7 km (6.6 mi)
      • เขตสัญญาณมินะมิ-อะระโอะ – มิโนะ-อะกะซะกะ: 1.9 km (1.2 mi)
      • ไมบะระ – โคเบะ: 139.0 km (86.4 mi) (via สายบรรทุกฮปโป)
      • สถานีบรรทุกเคียวโตะ – ทัมบะงุชิ: 3.3 km (2.1 mi)
      • ซุอิตะ – อุเมะดะ – ฟุกุชิมะ: 8.5 km (5.3 mi)
  • ช่วงกว้างราง: 1067
  • สถานี:
    • ผู้โดยสาร: 166 (ไม่รวม ชินะงะวะ – ชิง-คะวะซะกิ – สึรุมิ หรือส่วนอื่นนอกเหนือจาก สายย่อยมิโนะ-อะกะซะกะ)
      • JR ตะวันออก: 34
      • JR ตอนกลาง: 82
      • JR ตะวันตก: 50
    • เฉพาะบรรทุก: 14
  • ระบบราง:
    • สี่หรือมากกว่า
      • โตเกียว – โอะดะวะระ: 83.9 km (52.1 mi)
      • นะโงะยะ – อินะซะวะ: 11.1 km (6.9 mi)
      • คุซะสึ – โคเบะ: 98.1 km (61.0 mi)
    • สอง
      • โอะดะวะระ – นะโงะยะ
      • อินะซะวะ – คุซะสึ
      • ชินะงะวะ – ชิง-คะวะซะกิ – สึรุมิ
      • ฮะมะมะสึโช – สถานีบรรทุกโตเกียว – สถานีบรรทุกคะวะซะกิ – ฮะมะ-คะวะซะกิ
      • สึรุมิ – ฮัตโช-นะวะเตะ
      • สึรุมิ – ฮิงะชิ-ทะกะชิมะ
      • สึรุมิ – โยะโกะฮะมะ-ฮะซะวะ – ฮิงะชิ-โทะสึกะ
      • ซุอิตะ – อุเมะดะ
      • ซุอิตะ – (ลานรถไฟมิยะฮะระ) – อะมะงะซะกิ
    • รางเดียว: ส่วนที่เหลือ
  • ระบบจ่ายไฟ: 1500 V DC (ยกเว้นเขตสัญญาณซันโน – นะโงะยะ-มินะโตะ)
  • ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟ: ควมคุมรถไฟอัตโนมัติ
  • ความเร็วสูงสุด:
    • โตเกียว – โอฟุนะ, โอะดะวะระ – โทะโยะฮะชิ: 110 km/h (68 mph)
    • โอฟุนะ – โอะดะวะระ, โทะโยะฮะชิ – ไมบะระ: 120 km/h (75 mph)
    • เขตสัญญาณมินะมิ-อะระโอะ – ทะรุอิ – เซะกิงะฮะระ, เขตสัญญาณมินะมิ-อะระโอะ – มิโนะ-อะกะซะกะ: 85 km/h (53 mph)
    • ไมบะระ – โคเบะ: 130 km/h (81 mph)

อ้างอิง

  1. Smith, Roderick A. (2003). "The Japanese Shinkansen". The Journal of Transport History. Imperial College, London. 24/2: 222–236. {{cite journal}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น