ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยพรีเมียร์ลีก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Parinyaya (คุย | ส่วนร่วม)
Great456 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 551: บรรทัด 551:
|-
|-
|}
|}
==สนามที่ใช้ในการแข่งขัน (ฤดูกาลปัจจุบัน 2556)==
<center>
{| class="wikitable" style="text-align:center"
|-
! [[Army United F.C.|Army United]]
! [[Bangkok Glass F.C.|Bangkok Glass]]
! [[Bangkok United F.C.|Bangkok United]]
! [[BEC Tero Sasana F.C.|BEC Tero Sasana]]
! [[Buriram United F.C.|Buriram United]]
! [[Chainat F.C.|Chainat]]
|-
| [[Thai Army Sports Stadium]]
| [[Leo Stadium]]
| [[Thai-Japanese Stadium]]
| [[72-years Anniversary Stadium]]
| [[New I-Mobile Stadium]]
| [[Chainat Stadium]]
|-
| Capacity: '''20,000'''
| Capacity: '''13,000'''
| Capacity: '''10,000'''
| Capacity: '''15,000'''
| Capacity: '''24,000'''
| Capacity: '''12,000'''
|-
| [[File:Thai Army Sports Stadium.jpg|125px]]
| [[File:LEO Stadium.jpg|125px]]
| [[File:Thai-Japanese Stadium.jpg|125px]]
|
| [[File:Thunder castle Stadium.jpg|125px]]
|
|-
! [[Chiangrai United F.C.|Chiangrai United]]
! [[Chonburi F.C.|Chonburi]]
! [[Esan United F.C.|Esan United]]
! [[Muangthong United F.C.|Muangthong United]]
! [[Osotspa Saraburi F.C.|Osotspa Saraburi]]
! [[Pattaya United F.C.|Pattaya United]]
|-
| [[United Stadium of Chiangrai|United Stadium]]
| [[Chonburi Municipality Stadium]]
| [[Tung Burapha Stadium]]
| [[SCG Stadium]]
| [[Saraburi Stadium]]
| [[Nongprue Stadium]]
|-
| Capacity: '''15,000'''
| Capacity: '''8,500'''
| Capacity: '''9,000'''
| Capacity: '''17,500'''
| Capacity: '''6,000'''
| Capacity: '''5,000'''
|-
|
| [[File:Chonburi Stadium.jpg|125px]]
|
| [[File:SCGstadium.jpg|SCGstadium|125px]]
| [[File:สนามกีฬา2.jpg|125px]]
| [[File:Nong Prue Stadium.JPG|125px]]
|-
! [[Police United F.C.|Police United]]
! [[Ratchaburi F.C.|Ratchaburi]]
! [[Samut Songkhram F.C.|Samut Songkhram]]
! [[Songkhla United F.C.|Songkhla United]]
! [[Suphanburi F.C.|Suphanburi]]
! [[TOT F.C.|TOT]]
|-
| [[Thammasat Stadium]]
| [[Ratchaburi Stadium]]
| [[Samut Songkhram Stadium]]
| [[Tinsulanon Stadium]]
| [[Suphanburi Municipality Stadium]]
| [[TOT Stadium Chaeng Watthana]]
|-
| Capacity: '''25,000'''
| Capacity: '''12,000'''
| Capacity: '''6,000'''
| Capacity: '''35,000'''
| Capacity: '''10,000'''
| Capacity: '''5,000'''
|-
| [[File:050307 bangkok1.jpg|125px]]
|
|
| [[File:Songkhlastadium.jpg|125px]]
|
|
|-
|}
</center>


== อันดับแต่ละฤดูกาลของสโมสรที่เข้าแข่งขัน ==
== อันดับแต่ละฤดูกาลของสโมสรที่เข้าแข่งขัน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:26, 5 มกราคม 2556

ไทยพรีเมียร์ลีก
ประเทศไทย ไทย
สมาพันธ์เอเอฟซี
ก่อตั้ง2539
จำนวนทีม18
ตกชั้นสู่ไทยลีกดิวิชัน 1
ถ้วยภายในประเทศเอฟเอคัพ
ลีกคัพ
ควีนสคัพ
ถ้วยระดับนานาชาติเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก
เอเอฟซีคัพ
ทีมชนะเลิศปัจจุบันแม่แบบ:เมืองทอง ยูไนเต็ด (2555)
ชนะเลิศมากที่สุดเมืองทอง ยูไนเต็ด (3)
หุ้นส่วนโทรทัศน์สทท., สยามกีฬาทีวี, ทรูวิชั่นส์
เว็บไซต์ThaiPremierLeague.co.th
ฤดูกาล 2555
โลโกไทยพรีเมียร์ลีกปี 2553

ไทยพรีเมียร์ลีก เป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกอาชีพซึ่งจัดโดยสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยเป็นลีกระดับสูงสุดของระบบลีกฟุตบอลไทย มีทีมเข้าร่วมการแข่งขัน 18 ทีม โดยมีการตกชั้น สู่ลีกไทยดิวิชั่น 1 โดยไทยพรีเมียร์ลีกบริหารโดยมี 18 ทีมที่ทำการแข่งขันเป็นหุ้นส่วน โดยทำการแข่งขันระหว่างเดือนมีนาคม - ตุลาคม แต่ละทีมจะแข่งขัน 34 นัด รวมทั้งหมด 306 นัดต่อฤดูกาล โดยการแข่งขันส่วนใหญ่มีขึ้นในวันเสาร์และวันอาทิตย์ โดยบางเกมอาจแข่งขันในช่วงกลางสัปดาห์ เดิมชื่อว่า ไทยลีก ปัจจุบันไทยพรีเมียร์ลีกมีเครื่องดื่มสปอนเซอร์เป็นผู้สนับสนุนหลัก ทำให้มีชื่อลีกอย่างเป็นทางการว่า สปอนเซอร์ไทยพรีเมียร์ลีก

ประวัติ

ก่อนที่จะมีการจัดตั้งไทยพรีเมียร์ลีก ฟุตบอลระดับสูงสุดของไทยคือ ถ้วย ก โดยมีการแข่งขันตั้งแต่ พ.ศ. 2459 ถึง พ.ศ. 2538

ไทยพรีเมียร์ลีกเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2539 โดยสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ (FAT) ร่วมกับ 18 ทีมที่แข่งขันใน ถ้วย ก. เดิม โดยแข่งขันในระบบพบกันหมดสองรอบ

โดยไทยพรีเมียร์ลีกจะมีทีมเข้าร่วมการแข่งขัน 10 ถึง 12 สโมสร จนกระทั่ง พ.ศ. 2550 จึงมีการเพิ่มเป็น 16 สโมสร โดยเมื่อสิ้นสุดฤดูกาลทีมสามอันดับสุดท้ายจะตกชั้นไปสู่ ไทยแลนด์ดิวิชั่น 1 ลีก

เมื่อ พ.ศ. 2550 ไทยพรีเมียร์ลีกได้ทำการรวมลีกกับโปรวินเชียลลีก โดยสโมสรฟุตบอลชลบุรี เป็นทีมแรกจากโปรวิเชียนลีกที่ได้แชมป์ ไทยพรีเมียร์ลีกในฤดูกาล พ.ศ. 2550

เมื่อ พ.ศ. 2552 เอเอฟซี ได้มีกฎระเบียบว่าด้วยความเป็น สโมสรฟุตบอลอาชีพที่สมบูรณ์แบบ ทำให้สมาคมฟุตบอลต้องจัดตั้งบริษัทไทยพรีเมียร์ลีก ขึ้นมาเพื่อดำเนินการจัดการแข่งขันฟุตบอลลีกภายในประเทศ ให้เป็นฟุตบอลอาชีพอย่างแท้จริง ซึ่งมีดร.วิชิต แย้มบุญเรือง เป็นประธาน และได้ออกกฎระเบียบเรื่องให้สโมสรฟุตบอลอาชีพต้องดำเนินการจัดตั้งเป็นบริษัทนิติบุคคลขึ้นมาดูแลสโมสร จนส่งผลให้หลายทีมองค์กรรัฐ ธนาคาร ไม่สามารถปรับตัวได้ ต้องทำการขายทีมหรือยุปทีมไป จนเป็นที่มาของการเปลี่ยนแปลงของสโมสรไทยพรีเมียร์ลีก 2009 ซึ่งหลังจากมีการเปลี่ยนแปลง สโมสรต่างๆ การบริหารจัดการที่เป็นมืออาชีพมากขึ้น ต่างแข่งขันกันนำเสนอรุปแบบการบริหารจัดการสโมสรฟุตบอล การกระจายตัวไปยังต่างจังหวัด จนทำให้ปี พ.ศ. 2552 จึงเป็นปีที่ลีกของประเทศไทย กลับมาเริ่มต้นได้รับกระแสความนิยมอย่างมากอีกครั้งหนึ่ง ในปี2554นายวรวี มกูดี ได้มีแนวคิดที่จะเพิ่มทีมในไทยลีกเป็น 18 ทีม โดยมีทีมจากลีก ดิวิชั่น 1 ขึ้นมาเพิ่มขึ้นอีก

รูปแบบการแข่งขัน และ ผู้สนับสนุน

การแข่งขัน

มีทีมเข้าร่วมการแข่งขันไทยพรีเมียร์ลีกทั้งหมด 18 ทีม โดยจะทำการแข่งขันในช่วงเดือนมีนาคม - ตุลาคม โดยแข่งในระบบเหย้าเยือนพบกันหมดเป็นจำนวนทีมละ 34 นัด โดยผู้ชนะจะได้ 3 แต้ม, เสมอ ได้ 1 แต้ม, แพ้ ไม่ได้แต้ม การจัดอันดับ ดังนี้

ทีมที่ได้คะแนนรวมสูงสุดเมื่อสิ้นสุดฤดูกาลเป็นทีมชนะเลิศ ส่วนทีมที่ได้คะแนนรองลงมาจะถูกจัดอันดับลดหลั่นกันตามคะแนนรวมที่ได้จนถึงทีมสุดท้าย ในกรณีที่มีทีมมากกว่า 1 ทีมขึ้นไป ได้คะแนนรวมเท่ากันเมื่อสิ้นสุดฤดูกาลให้ใช้เกณฑ์พิจารณาเรียงลำดับ ดังนี้

  1. พิจารณาจากผลการแข่งขันของทีมที่มีคะแนนเท่ากันที่เคยแข่งกันมาในฤดูกาลที่เพิ่งจบการแข่งขัน (Head To Head)
  2. พิจารณาจากจำนวนครั้งที่ชนะ (Number of Wins) ของแต่ละทีมที่คะแนนเท่ากัน
  3. พิจารณาจากผลต่างของประตูได้ และประตูเสีย (Goals Difference)
  4. พิจารณาเฉพาะประตูได้ (Goals For)
  5. แข่งขันกันใหม่ 1 นัด เพื่อหาทีมชนะ หากผลการแข่งขันเสมอกันในเวลาปกติให้ตัดสินด้วยการเตะลูกโทษ ณ จุดเตะโทษ
  6. ในกรณีที่พิจารณาตามเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้นตามลำดับแล้วและได้เกณฑ์ตัดสินตามข้อหนึ่งข้อใดแล้วให้ยุติการพิจารณาข้อต่อไป

ในการจัดอันดับระหว่างการแข่งขันเพื่อแสดงลำดับในตารางคะแนนระหว่างฤดูกาลให้ใช้เกณฑ์พิจารณาดังต่อไปนี้

  1. พิจารณาจากคะแนนรวมสูงสุด
  2. ถ้าคะแนนรวมเท่ากันให้พิจารณาจากผลต่างของประตูได้ ประตูเสีย
  3. ถ้ายังเท่ากันอีกให้ดูเฉพาะประตูได้
  4. ถ้ายังเท่ากันอีกให้ทำการจับฉลาก

โดยสามทีมสุดท้ายของลีกจะตกชั้นสู่ไทยลีกดิวิชัน 1 และสามอันดับแรกจากไทยดิวิชัน 1 จะขึ้นชั้นมาแทน

การคัดเลือกทีมตัวแทนไปแข่งขันในระดับเอเชีย

สำหรับ การคัดเลือกตัวแทนไปแข่งขันในระดับเอเชีย ทีมชนะเลิศจะได้สิทธิไปเล่นในรายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบแบ่งกลุ่มอัตโนมัติ และ แชมป์ฟุตบอลถ้วย เอฟเอคัพ จะได้สิทธิ์เล่นรอบเพลย์ออฟ หากไม่ผ่านรอบเพลยออฟจะได้ไปเล่นรายการ เอเอฟซีคัพหรือในกรณีที่มีทีมได้ดับเบิ้ลแชมป์ทั้งไทยพรีเมียร์ลีก และ เอฟเอคัพ สิทธิ์ในการเล่นรอบเพลย์ออฟจะไปอยู่กับทีมรองแชมป์ลีกแทน

รายชื่อผู้สนับสนุน

ไทยพรีเมียร์ลีกมีผู้สนับสนุนตั้งแต่ พ.ศ. 2539 ถึง พ.ศ. 2546 และมีผู้สนับสนุนอีกครั้งตั้งแต่ พ.ศ. 2553 ผู้สนับสนุนจะกลายเป็นชื่อทางการของลีกในปีนั้นๆ ดังรายชื่อด้านล่าง

รายชื่อเครือข่ายถ่ายทอดสด

ไทยพรีเมียร์ลีก มีผู้สนับสนุนการถ่ายทอดสด ในปีนั้นๆ ดังรายชื่อต่อไปนี้

  • ไทยลีก ครั้งที่ 14-16 : ทรูวิชั่น / ช่อง 11
  • ไทยลีก ครั้งที่ 13-14 : ดีทีวี / สยามกีฬาทีวี / ช่อง 11 / ทีสปอร์ต
  • ไทยลีก ครั้งที่ 7-12 : ทรูวิชั่น
  • ไทยลีก ครั้งที่ 1-6 : ช่อง 7

เงินรางวัล

การกีฬาแห่งประเทศไทย เป็นผู้สนับสนุนเงินรางวัล ของฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก โดยมีเงินรางวัล ดังนี้

อันดับที่ รางวัล
อันดับที่ 1 10,000,000 บาท
อันดับที่ 2 2,000,000 บาท
อันดับที่ 3 1,500,000 บาท
อันดับที่ 4 800,000 บาท
อันดับที่ 5 700,000 บาท
อันดับที่ 6 600,000 บาท
อันดับที่ 7 500,000 บาท
อันดับที่ 8 400,000 บาท

นอกจากนี้ยังมีเงินรางวัลพิเศษ สำหรับทีมมารยาทยอดเยี่ยม เป็นจำนวนเงิน 100,000 บาท และเงินบำรุงทีมที่เข้าร่วมแข่งขัน ทีมละ 1,000,000 บาท
เงินรางวัลสำหรับนักฟุตบอลยอดเยี่ยม, ดาวซัลโว, โค้ช, ดาวรุ่ง, ผู้รักษาประตู, กองหลัง, กองกลาง, กองหน้า

ทีมชนะเลิศไทยพรีเมียร์ลีก

ครั้งที่ ฤดูกาล จำนวนทีม ทีมชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับ 3 อันดับ 4 อันดับ 5
17 2556 18 ทีม
16 2555 18 ทีม แม่แบบ:เมืองทอง ยูไนเต็ด ชลบุรี บีอีซี เทโรศาสน บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด โอสถสภา
15 2554 18 ทีม แม่แบบ:บุรีรัมย์ พีอีเอ ชลบุรี เมืองทอง ยูไนเต็ด พัทยา ยูไนเต็ด บางกอกกล๊าส
14 2553 16 ทีม แม่แบบ:เมืองทอง ยูไนเต็ด บุรีรัมย์ พีอีเอ ชลบุรี การท่าเรือไทย บางกอกกล๊าส
13 2552 16 ทีม แม่แบบ:เมืองทอง ยูไนเต็ด ชลบุรี บางกอกกล๊าส บีอีซี เทโรศาสน โอสถสภา
12 2551 16 ทีม การไฟฟ้า ชลบุรี บีอีซี เทโรศาสน โอสถสภา ทีโอที
11 2550 16 ทีม แม่แบบ:ชลบุรี ธ.กรุงไทย บีอีซี เทโรศาสน ม.กรุงเทพ ทหารบก
10 2549 12 ทีม แม่แบบ:ม.กรุงเทพ โอสถสภา บีอีซี เทโรศาสน พนักงานยาสูบ ธนาคารกรุงเทพ
9 2547/48 10 ทีม แม่แบบ:ยาสูบ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โอสถสภา การท่าเรือ ธนาคารกรุงไทย
8 2546/47 10 ทีม แม่แบบ:กรุงไทย บีอีซี เทโรศาสน โอสถสภา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ การท่าเรือไทย
7 2545/46 10 ทีม แม่แบบ:กรุงไทย บีอีซี เทโรศาสน การท่าเรือ ธ.กรุงเทพ ทหารอากาศ
6 2544/45 12 ทีม แม่แบบ:บีอีซี โอสถสภา ธ.กรุงเทพ ทหารอากาศ สินธนา
5 2543 12 ทีม แม่แบบ:บีอีซี ทหารอากาศ ธ.กสิกรไทย กรุงเทพมหานคร การท่าเรือไทย
4 2542 12 ทีม แม่แบบ:ทหารอากาศ การท่าเรือ บีอีซี เทโรศาสน โอสถสภา องค์การโทรศัพท์ฯ
3 2541 12 ทีม แม่แบบ:สินธนา ทหารอากาศ บีอีซี เทโรศาสน การท่าเรือ ธ.กรุงเทพ
2 2540 12 ทีม แม่แบบ:ทหารอากาศ สินธนา ธ.กรุงเทพ การท่าเรือ บีอีซี เทโรศาสน
1 2539 18 ทีม ธ.กรุงเทพ หลักทรัพย์ องค์การโทรศัพท์ ธ.กสิกรไทย ยูคอมราชประชา

ผู้ทำประตูสูงสุด

ปี ผู้เล่น สโมสร ประตู
2555 บราซิล คลีตัน โอลิเวียรา ซิลวา
ไทย ธีรศิลป์ แดงดา
แม่แบบ:บีอีซี
แม่แบบ:เมืองทอง ยูไนเต็ด
24
2554 แคเมอรูน แฟรงค์ โอแฮนด์ซ่า แม่แบบ:บุรีรัมย์ พีอีเอ
19
2553 แคเมอรูน ลูโดวิค ทาคาม พัทยา ยูไนเต็ด
17
2552 ไทย อานนท์ สังข์สระน้อย แม่แบบ:บีอีซี
18
2551 ไทย อานนท์ สังข์สระน้อย แม่แบบ:บีอีซี
20
2550 บราซิล เนย์ ฟาเบียโน โอลิเวียรา แม่แบบ:ยาสูบ
18
2549 ไทย พิพัฒน์ ต้นกันยา แม่แบบ:บีอีซี
12
2547/48 ไทย ศุภกิจ จินะใจ
ไทย ศรายุทธ ชัยคำดี
การไฟฟ้า
แม่แบบ:การท่าเรือ
10
2546/47 ไทย วิมล จันทร์คำ โอสถสภา
15
2545/46 ไทย ศรายุทธ ชัยคำดี แม่แบบ:การท่าเรือ
12
2544/45 ไทย วรวุฒิ ศรีมะฆะ
ไทย ปิติพงษ์ กุลดิลก
แม่แบบ:บีอีซี
แม่แบบ:การท่าเรือ
12
2543 ไทย สุธี สุขสมกิจ ธ.กสิกรไทย
16
2542 ไทย สุธี สุขสมกิจ ธ.กสิกรไทย
13
2541 ไทย รณชัย สยมชัย แม่แบบ:การท่าเรือ
23
2540 ไทย วรวุฒิ ศรีมะฆะ แม่แบบ:บีอีซี
17
2539 ไทย อัมพร อำพันสุวรรณ แม่แบบ:Icon ทีโอที องค์การโทรศัพท์
21

ผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยม

ปี รายชื่อผู้ฝึกสอน สโมสร
2555 เซอร์เบีย สลาวีชา วอคานอวิช แม่แบบ:เมืองทอง ยูไนเต็ด
2554 ไทย อรรถพล บุษปาคม แม่แบบ:บุรีรัมย์ พีอีเอ
2553 เบลเยียม เรอเน เดอซาแยร์ แม่แบบ:เมืองทอง ยูไนเต็ด
2552 ไทย อรรถพล บุษปาคม แม่แบบ:เมืองทอง ยูไนเต็ด
2551 ไทย ประพล พงษ์พานิช การไฟฟ้าฯ
2550 ไทย จเด็จ มีลาภ แม่แบบ:ชลบุรี
2549 ไทย สมชาย ทรัพย์เพิ่ม แม่แบบ:ม.กรุงเทพ
2547/48 บราซิล โชเซ่ อัลเวส เบอร์วิส แม่แบบ:ยาสูบ
2546/47 ไทย วรวุฒิ แดงเสมอ ธ.กรุงไทย
2545/46 ไทย ณรงค์ สุวรรณโชติ ธ.กรุงไทย
2544/45 ไทย อรรถพล บุษปาคม แม่แบบ:บีอีซี
2543 ไทย พิชัย ปิตุวงษ์ แม่แบบ:บีอีซี
2542 ไทย ปิยะพงษ์ ผิวอ่อน แม่แบบ:ทหารอากาศ
2541 ไทย การุณ นาคสวัสดิ์ แม่แบบ:สินธนา
2540 ไทย ปิยะพงษ์ ผิวอ่อน แม่แบบ:ทหารอากาศ
2539 ไทย วิทยา เลาหกุล ธ.กรุงเทพ

สโมสรร่วมแข่งขันในไทยพรีเมียร์ลีก

สโมสร สถานที่สนามเหย้า ฤดูกาลในพรีเมียร์ลีก อันดับที่ดีที่สุด (ฤดูกาล) อันดับที่แย่ที่สุด (ฤดูกาล)
ชัยนาท ชัยนาท 2555 - อันดับ 14 (2555)
ชลบุรี เอฟซี ชลบุรี 2549-2555 ชนะเลิศ (2550) อันดับ 8 (2549)
เชียงราย ยูไนเต็ด เชียงราย 2554-2555 อันดับ 10 (2554) อันดับ 10 (2554)
การท่าเรือ คลองเตย 2539-2555 อันดับ 2 (2542) อันดับ 13 (2551)
ทีทีเอ็ม เชียงใหม่ แม่ริม เชียงใหม่ 2539, 2544-51 (พนักงานยาสูบ), 2552 (ทีทีเอ็ม-สมุทรสาคร),
2553-2554 (ทีทีเอ็ม เอฟซี พิจิตร), 2555 (ทีทีเอ็ม เอฟซี เชียงใหม่)
ชนะเลิศ (2547/48) อันดับ 13 (2539)
ทีโอที เอสซี หลักสี่ 2539-46 (องค์การโทรศัพท์), 2547-48 (ทศท), 2550-52 (ทีโอที), 2553-2555 (ทีโอที แคท) อันดับ 3 (2539) อันดับ 14 (2554)
พัทยา ยูไนเต็ด เมืองพัทยา (บางละมุง) 2551 (โค้ก-บางพระ ยุไนเต็ด), 2552-2555 (พัทยา ยูไนเต็ด) อันดับ 4 (2554) อันดับ 15 (2555)
บางกอกกล๊าส ธัญบุรี ปทุมธานี 2539, 2541-51 (ธ.กรุงไทย), 2552-2555 (บางกอกกล๊าส) ชนะเลิศ (2545/46, 2546/47) อันดับ 17 (2539)
บีบีซียู บางกะปิ 2539-2546/47 (สินธนา), 2551-2552 (จุฬา ยูไนเต็ด),2555 ชนะเลิศ (2541) อันดับ 15 (2552)
บีอีซี เทโรศาสน ปทุมวัน 2539-2555 ชนะเลิศ (2543, 2544/45) อันดับ 12 (2539)
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บุรีรัมย์ 2547-2555 ชนะเลิศ (2551,2554) อันดับ 10 (2549)
เมืองทอง ยูไนเต็ด ปากเกร็ด 2552-2555 ชนะเลิศ (2552, 2553, 2555) อันดับ 3 (2554)
วัวชน ยูไนเต็ด สงขลา 2555 - -
ศรีสะเกษ-เมืองไทย ศรีสะเกษ 2553-2555 อันดับ 12 (2554) อันดับ 14 (2553)
อินทรีเพื่อนตำรวจ คลองหลวง 2550, 2553-2555 อันดับ 9 (2554) อันดับ 16 (2550)
สมุทรสงคราม สมุทรสงคราม 2551-2555 อันดับ 7 (2551, 2552) อันดับ 15 (2554)
อาร์มี่ ยูไนเต็ด พญาไท 2539-2542, 2549-2551, 2553-2555 อันดับ 5 (2550) อันดับ 16 (2553)
โอสถสภา เอ็ม-150 สระบุรี 2539, 2541-2555 อันดับ 2 (2544/45, 2549) อันดับ 10 (2541)

สนามที่ใช้ในการแข่งขัน (ฤดูกาลปัจจุบัน 2556)

Army United Bangkok Glass Bangkok United BEC Tero Sasana Buriram United Chainat
Thai Army Sports Stadium Leo Stadium Thai-Japanese Stadium 72-years Anniversary Stadium New I-Mobile Stadium Chainat Stadium
Capacity: 20,000 Capacity: 13,000 Capacity: 10,000 Capacity: 15,000 Capacity: 24,000 Capacity: 12,000
ไฟล์:Thunder castle Stadium.jpg
Chiangrai United Chonburi Esan United Muangthong United Osotspa Saraburi Pattaya United
United Stadium Chonburi Municipality Stadium Tung Burapha Stadium SCG Stadium Saraburi Stadium Nongprue Stadium
Capacity: 15,000 Capacity: 8,500 Capacity: 9,000 Capacity: 17,500 Capacity: 6,000 Capacity: 5,000
SCGstadium
Police United Ratchaburi Samut Songkhram Songkhla United Suphanburi TOT
Thammasat Stadium Ratchaburi Stadium Samut Songkhram Stadium Tinsulanon Stadium Suphanburi Municipality Stadium TOT Stadium Chaeng Watthana
Capacity: 25,000 Capacity: 12,000 Capacity: 6,000 Capacity: 35,000 Capacity: 10,000 Capacity: 5,000
ไฟล์:050307 bangkok1.jpg ไฟล์:Songkhlastadium.jpg

อันดับแต่ละฤดูกาลของสโมสรที่เข้าแข่งขัน

ครั้งที่ 2539 2540 2541 2542 2543 2544/45 2545/46 2546/47 2547/48 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556
เมืองทอง ยูไนเต็ด C C 3 C
ชลบุรี 8 C 2 2 3 2 2
บีอีซี เทโรศาสน 12 5 3 3 C C 2 2 6 3 3 3 4 9 8 3
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 2 10 8 C 9 2 C 4
โอสถสภา สระบุรี 14 10 4 8 2 6 3 3 2 9 4 5 7 6 5
อีสาน ยูไนเต็ด 14 12 6
สมุทรสงคราม 7 10 8 15 7
บางกอกกล๊าส 17 9 10 10 7 C C 5 9 2 6 3 5 5 8
เชียงราย ยูไนเต็ด 10 9
ทหารบก 8 9 7 11 6 5 15 16 13 10
ทีโอที 3 (2) 8 6 5 12 9 9 9 10 5 7 12 14 11
อินทรีเพื่อนตำรวจ 10 11 7 11 16 11 9 12
วัวชน ยูไนเต็ด 13
ชัยนาท 14
พัทยา ยูไนเต็ด 11 12 6 4 15
การท่าเรือไทย 11 4 4 2 5 6 3 5 4 7 12 13 6 4 7 16
บีบีซียู 6 2 C 7 11 5 7 10 8 15 17
ทีทีเอ็ม เชียงใหม่ 13 8 8 8 C 4 6 12 8 13 11 18
ราชบุรี
แบงค็อก ยูไนเต็ด 4 7 C 4 10 13 15
สุพรรณบุรี 12 13
ราชนาวี-ระยอง 9 12 6 10 7 10 15 11 10 16
ศรีราชา 14 17
นครปฐม 11 9 16
ไทยฮอนด้า 11 14
ทหารอากาศ 7 C 2 C 2 4 5 9
กรุงเทพคริสเตียน 10
ศุลกากร 16
อาร์แบค-บีอีซี 2 (4) 7 11 9 4 12
ราชประชา 5 10 12
ราชวิถี 16
ธ.กสิกรไทย 3 (1) 6 8 6 3
ธ.กรุงเทพ C (3) 3 5 8 9 3 4 6 8 5 7 14
ไดสตาร์กรุงเทพ 15 12
ธำรงไทยสโมสร 18
ชนะเลิศ
รองชนะเลิศ
5 อันดับแรก
ตกชั้น
ไม่ได้เข้าร่วม

สโมสรที่ชนะเลิศการแข่งขันมากที่สุด

สโมสรที่ชนะเลิศการแข่งขัน-แยกตามรายชื่อสโมสร

สโมสร จำนวนครั้ง ปีที่ชนะเลิศ
เมืองทองฯ ยูไนเต็ด
3
2552, 2553, 2555
บีอีซี เทโรศาสน
2
2543, 2544/45
ธ.กรุงไทย
2
2545/46, 2546/47
ทหารอากาศ
2
2540, 2542
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
2
2551,2554
ธ.กรุงเทพ
1
2539
ม.กรุงเทพ
1
2549
ชลบุรี
1
2550
สินธนา
1
2541
พนักงานยาสูบ
1
2547/48

สโมสรที่ชนะเลิศการแข่งขัน-แยกตามจังหวัด

จังหวัด ครั้ง สโมสร
กรุงเทพ
9
บีอีซี เทโรศาสน (2), ธ.กรุงไทย (2), ทหารอากาศ (2), ธ.กรุงเทพ (1), ม.กรุงเทพ (1), สินธนา* (1)
นนทบุรี
3
เมืองทองฯ ยูไนเต็ด (3)
บุรีรัมย์
2
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด** (2)
เชียงใหม่
1
พนักงานยาสูบ*** (1)
ชลบุรี
1
ชลบุรี (1)

* สินธนา แต่ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น บีบีซียู ** บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ได้แชมป์ 1 ครั้งในชื่อ การไฟฟ้า ในขณะนั้นใช้สนามเหย้าที่อยุธยา และได้แชมป์อีก 1 ครั้งในชื่อ บุรีรัมย์ พีอีเอ *** พนักงานยาสูบ ได้แชมป์ในขณะที่ยังอยู่ในกรุงเทพ แต่ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น ทีทีเอ็ม เชียงใหม่ และย้ายสนามเหย้าไปที่จังหวัดเชียงใหม่

สโมสรที่ชนะเลิศการแข่งขัน-แยกตามภาค

ภาค จำนวน สโมสร
กรุงเทพและปริมณฑล
12
บีอีซี เทโรศาสน (2), ธ.กรุงไทย (2), เมืองทองฯ ยูไนเต็ด (3), ทหารอากาศ (2), ธ.กรุงเทพ (1), ม.กรุงเทพ (1), สินธนา** (1)
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด** (2)
ภาคตะวันออก
1
ชลบุรี (1)
ภาคเหนือ
1
พนักงานยาสูบ*** (1)
ภาคใต้
-
ภาคกลาง
ภาคตะวันตก
-

* สินธนา แต่ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น บีบีซียู ** บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ได้แชมป์ 1 ครั้งในชื่อ การไฟฟ้า ในขณะนั้นใช้สนามเหย้าที่อยุธยา และได้แชมป์อีก 1 ครั้งในชื่อ บุรีรัมย์ พีอีเอ *** พนักงานยาสูบ ได้แชมป์ในขณะที่ยังอยู่ในกรุงเทพ แต่ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น ทีทีเอ็ม เชียงใหม่ และย้ายสนามเหย้าไปที่จังหวัดเชียงใหม่

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น