ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความกลัว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JackieBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: sl:Strah
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: ku:Tirs
บรรทัด 67: บรรทัด 67:
[[ja:恐怖]]
[[ja:恐怖]]
[[ko:공포]]
[[ko:공포]]
[[ku:Tirs]]
[[ky:Коркунуч]]
[[ky:Коркунуч]]
[[lt:Baimė]]
[[lt:Baimė]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:26, 4 มกราคม 2556

สีหน้าแสดงความกลัว จากหนังสือ The Expression of the Emotions in Man and Animals ของชาลส์ ดาร์วิน

ความกลัว เป็นการตอบสนองทางอารมณ์ต่อการถูกคุกคามหรือภัยอันตราย นับเป็นกลไกพื้นฐานในการเอาตัวรอดต่อสิ่งกระตุ้นหนึ่งๆ ที่จำเพาะ เช่น การกลัวต่อความเจ็บปวดหรือสิ่งก่อให้เกิดความเจ็บปวด นักจิตวิทยาให้ความเห็นว่าความกลัวเป็นหนึ่งในอารมณ์พื้นฐานแต่กำเนิดซึ่งรวมถึงความสุข, ความเศร้า และความโกรธ

ความกลัวนั้นแตกต่างจากความกังวล ซึ่งเป็นการตอบสนองโดยไม่มีสิ่งคุกคามภายนอก และนอกจากนี้ความกลัวยังเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการหลบหนีหรือหลีกเลี่ยง ในขณะที่ความกังวลเป็นผลของการถูกคุกคามที่รับรู้ว่าไม่สามารถควบคุมหรือหลีกเลี่ยงได้[1]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Ohman, A. (2000). Fear and anxiety: Evolutionary, cognitive, and clinical perspectives. In M. Lewis & J. M. Haviland-Jones (Eds.). Handbook of emotions. (pp.573-593). New York: The Guilford Press.

แหล่งข้อมูลอื่น