ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลขฐานสอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต: แก้ไขจาก en:Binary number system ไปเป็น en:Binary numeral system
Justincheng12345-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต แก้ไข: en:Binary number
บรรทัด 53: บรรทัด 53:
[[de:Dualsystem]]
[[de:Dualsystem]]
[[el:Δυαδικό σύστημα]]
[[el:Δυαδικό σύστημα]]
[[en:Binary numeral system]]
[[en:Binary number]]
[[eo:Duuma sistemo]]
[[eo:Duuma sistemo]]
[[es:Sistema binario]]
[[es:Sistema binario]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:01, 3 มกราคม 2556

เลขฐานสอง (อังกฤษ: binary numeral system) หมายถึง ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น

ถ้าแปลงค่าเลขฐานสิบ มาเป็นเลขฐานสอง จะได้ดังนี้

  • 1 = 1
  • 2 = 10
  • 3 = 11
  • 4 = 100
  • 5 = 101
  • 6 = 110
  • 7 = 111
  • 8 = 1000
  • 9 = 1001
  • 10(A) = 1010
  • 11(B) = 1011
  • 12(C) = 1100
  • 13(D) = 1101
  • 14(E) = 1110
  • 15(F) = 1111

ในปัจจุบันเลขฐานสองเป็นพื้นฐานในการทำงานของคอมพิวเตอร์ โดยนำเอาหลักการของเลขฐานสอง (สถานะไม่มีไฟฟ้า และ สถานะมีไฟฟ้า) มาใช้ในการสร้างไมโครโปรเซสเซอร์ที่มีหน่วยประมวลผลแบบ 32 หรือ 64 บิต หรือมากกว่านั้น ซึ่งสามารถเรียกได้ว่าเป็นการประมวลผลแบบดิจิทัล

ดูเพิ่ม

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA

แม่แบบ:Link FA