ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีโทรทัศน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Puppykung999 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
เรียบเรียงใหม่
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
== บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่า ==
== บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่า ==
บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่า หรือ '''ฟรีทีวี''' เป็นบริการออกอากาศ[[วิทยุโทรทัศน์]] ที่หน่วย[[ราชการ]] และ[[รัฐวิสาหกิจ]][[บริษัทมหาชน]]ดำเนินการเอง หรือทำสัญญา[[สัมปทาน]]ให้[[นิติบุคคล]]ภาคเอกชนดำเนินการ ซึ่งประชาชนสามารถรับชมได้ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรับชม
บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่า หรือ '''ฟรีทีวี''' เป็นบริการออกอากาศ[[วิทยุโทรทัศน์]] ที่หน่วย[[ราชการ]] และ[[รัฐวิสาหกิจ]][[บริษัทมหาชน]]ดำเนินการเอง หรือทำสัญญา[[สัมปทาน]]ให้[[นิติบุคคล]]ภาคเอกชนดำเนินการ ซึ่งประชาชนสามารถรับชมได้ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรับชม

== ร่างพรบ กสทช ==
=== ยุคหลังประกาศใช้พระราชบัญญัติ กสทช. ===
วุฒิสภาไทยได้ผ่านร่าง กสทช ด้วยคะแนน 82 ต่อ 4 ซึ่งจะมีผลให้ในปี 2558 เป็นต้นไปจะมีผลให้มีการเปลี่ยนจากคลื่นอนาล๊อกเป็นดิจิตอล ซึ่งมีผลให้ฟรีทีวีของไทยจะเพิ่มจาก 6 ช่องเป็น 30 ช่องในอนาคตโดยส่วนมากจะมาในระบบ HD เท่าที่สามารถทำได้ก่อนภายใจภาคต้นของการปรับเปลี่ยน
วุฒิสภาไทย ลงมติให้ผ่านร่างพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (พ.ร.บ.กสทช.) ด้วยคะแนน 82 ต่อ 4 เสียง ซึ่งจะมีผลให้ในปี [[พ.ศ. 2558]] เป็นต้นไป จะมีผลให้มีการเปลี่ยนจากคลื่น[[อนาล็อก]]เป็น[[ดิจิตอล]] ซึ่งจะมีผลให้บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่าของไทย เพิ่มจาก 6 เป็น 30 ช่องในอนาคต โดยส่วนมากจะใช้ระบบ[[โทรทัศน์ความละเอียดสูง]] เท่าที่สามารถทำได้ก่อนในระยะแรก


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:14, 3 มกราคม 2556

สถานีโทรทัศน์ เป็นหน่วยงาน ที่เป็นเจ้าของคลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ หรือเป็นผู้รับสัมปทานคลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ รวมถึงเป็นผู้จัดสรรเวลาในการออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ผ่านคลื่นความถี่ดังกล่าว และยังเป็นบริการส่งสัญญาณออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ไปสู่เครื่องรับโทรทัศน์ โดยผ่านคลื่นความถี่ทางอากาศ โดยมากจะอยู่ในรูปของนิติบุคคล บริษัทจำกัด

บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่า

บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่า หรือ ฟรีทีวี เป็นบริการออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ที่หน่วยราชการ และรัฐวิสาหกิจบริษัทมหาชนดำเนินการเอง หรือทำสัญญาสัมปทานให้นิติบุคคลภาคเอกชนดำเนินการ ซึ่งประชาชนสามารถรับชมได้ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรับชม

ยุคหลังประกาศใช้พระราชบัญญัติ กสทช.

วุฒิสภาไทย ลงมติให้ผ่านร่างพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (พ.ร.บ.กสทช.) ด้วยคะแนน 82 ต่อ 4 เสียง ซึ่งจะมีผลให้ในปี พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป จะมีผลให้มีการเปลี่ยนจากคลื่นอนาล็อกเป็นดิจิตอล ซึ่งจะมีผลให้บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่าของไทย เพิ่มจาก 6 เป็น 30 ช่องในอนาคต โดยส่วนมากจะใช้ระบบโทรทัศน์ความละเอียดสูง เท่าที่สามารถทำได้ก่อนในระยะแรก

ดูเพิ่ม