ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประสูติของพระเยซู"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tostarpadius (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
<!-- กรุณาอย่าเปลี่ยน ค.ศ. เป็น พ.ศ. เพราะเมื่อขยายบทความนี้จะมีการอ้างอิงไปถึงคริสต์ศักราช และบทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของบทความในชุดใหญ่ที่ใช้ ค.ศ. วิกิกล่าวว่าการใช้ ค.ศ. เป็น พ.ศ. ขึ้นอยู่กับผู้เขึยน ฉะนั้นขอเลือก ค.ศ. ในกรณีนี้ ขอบคุณค่ะ-->
<!-- กรุณาอย่าเปลี่ยน ค.ศ. เป็น พ.ศ. เพราะเมื่อขยายบทความนี้จะมีการอ้างอิงไปถึงคริสต์ศักราช และบทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของบทความในชุดใหญ่ที่ใช้ ค.ศ. วิกิกล่าวว่าการใช้ ค.ศ. เป็น พ.ศ. ขึ้นอยู่กับผู้เขึยน ฉะนั้นขอเลือก ค.ศ. ในกรณีนี้ ขอบคุณค่ะ-->
[[ไฟล์:Petrus Christus 002.jpg|thumb|250px|“การประสูติ” โดยเปตรุส คริสตุส (Petrus Christus) ราว ค.ศ. 1445]]
[[ไฟล์:Petrus Christus 002.jpg|thumb|250px|“การประสูติ” โดยเปตรุส คริสตุส (Petrus Christus) ราว ค.ศ. 1445]]
'''การประสูติของพระเยซู''' ({{lang-en|The Nativity of Jesus; the Nativity}}) หรือ'''พระคริสตสมภพ'''<ref>[http://www.catholic.or.th/spiritual/books/saints/saintsdec/dec25.html สมโภชพระคริสตสมภพ]. ,[[เขตมิสซังกรุงเทพฯ]]</ref> เป็นเรื่องราวการกำเนิดของ[[พระเยซู]] สำหรับ[[คริสต์ศาสนิกชน]]รายละเอียดเป็นทางการของการประสูติกล่าวไว้ใน[[พระวรสารนักบุญมัทธิว]]และ[[พระวรสารนักบุญลูกา]]ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[คัมภีร์ไบเบิล]]ภาค[[พันธสัญญาใหม่]] รายละเอียดที่ละเอียดกว่าจากแหล่งอื่นก็มีแต่มิได้รวมอยู่ใน[[สารบบคัมภีร์ไบเบิล]] [[พระวรสารนักบุญลูกา]]ซึ่งเป็นเชื่อกันว่าเป็นพระวรสารฉบับแรกของพระวรสารในสารบบก็มิได้กล่าวถึงการประสูติของพระเยซู<ref>Brown, Raymond E., et al. ''The New Jerome Biblical Commentary'', Prentice Hall, 1990</ref>
'''การประสูติของพระเยซู''' ({{lang-en|The Nativity of Jesus; the Nativity}}) หรือ'''พระคริสตสมภพ'''<ref>[http://www.catholic.or.th/spiritual/books/saints/saintsdec/dec25.html สมโภชพระคริสตสมภพ]. ,[[เขตมิสซังกรุงเทพฯ]]</ref> ถูกกล่าวถึงใน[[พระวรสารนักบุญมัทธิว]]และ[[พระวรสารนักบุญลูกา]]ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[คัมภีร์ไบเบิล]]ภาค[[พันธสัญญาใหม่]] ส่วน[[พระวรสารนักบุญมาระโก]]และ[[พระวรสารนักบุญยอห์น]]มิได้กล่าวถึงการประสูติของพระเยซูไว้<ref>Brown, Raymond E., et al. ''The New Jerome Biblical Commentary'', Prentice Hall, 1990</ref> แหล่งข้อมูลอื่นเกี่ยวกับเหตุการณ์นี้ก็มีแต่มิได้รวมอยู่ใน[[สารบบคัมภีร์ไบเบิล]]


คำบรรยายของพระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูกากล่าวว่าพระเยซูชาวนาซาเร็ธเป็นบุตรของ[[พระแม่มารีย์]] ขณะมีตั้งครรภ์ได้หมั้นอยู่กับ[[นักบุญโยเซฟ|โยเซฟ]]จากตระกูล[[เดวิด]] เรื่องนี้คริสตชนเชื่อว่า[[พระเยซูประสูติจากหญิงพรหมจารี]]เพราะเป็นการกำเนิดโดยอำนาจของ[[พระวิญญาณบริสุทธิ์]]โดยมารดามิได้ร่วมประเวณีกับโยเซฟเลย คริสตชนจึงถือว่าโยเซฟเป็นเพียงบิดาบุญธรรม [[ทูตสวรรค์]]ได้ประกาศถึงการประสูติพระเยซูต่อคนเลี้ยงแกะ [[โหราจารย์]]สามคนก็ทราบเพราะได้เห็นดวงดาว<ref>{{อิงไบเบิล|luke|ลูกา|1|34}}, {{อิงไบเบิล|luke|ลูกา|2|4|5}}, {{อิงไบเบิล|matthew|มัทธิว|1|18|19}}</ref> พระวรสารกล่าวว่าการกำเนิดของพระเยซูเป็นไปตามคำพยากรณ์ของเหล่า[[ผู้เผยพระวจนะ]]ชาว[[อิสราเอล]]
คำบรรยายของพระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูกากล่าวว่าพระเยซูชาวนาซาเร็ธเป็นบุตรของ[[มารีย์ (มารดาพระเยซู)|นางมารีย์]] ขณะมีตั้งครรภ์ได้หมั้นอยู่กับ[[นักบุญโยเซฟ|โยเซฟ]]จากตระกูล[[เดวิด]] เรื่องนี้คริสตชนเชื่อว่า[[พระเยซูประสูติจากหญิงพรหมจารี]]เพราะเป็นการกำเนิดโดยอำนาจของ[[พระวิญญาณบริสุทธิ์]]โดยมารดามิได้ร่วมประเวณีกับโยเซฟเลย คริสตชนจึงถือว่าโยเซฟเป็นเพียงบิดาบุญธรรม [[ทูตสวรรค์]]ได้ประกาศถึงการประสูติพระเยซูต่อคนเลี้ยงแกะ [[โหราจารย์]]สามคนก็ทราบเพราะได้เห็นดวงดาว<ref>{{อิงไบเบิล|luke|ลูกา|1|34}}, {{อิงไบเบิล|luke|ลูกา|2|4|5}}, {{อิงไบเบิล|matthew|มัทธิว|1|18|19}}</ref> พระวรสารกล่าวว่าการกำเนิดของพระเยซูเป็นไปตามคำพยากรณ์ของเหล่า[[ผู้เผยพระวจนะ]]ชาว[[อิสราเอล]]


การระลึกถึง การแสดง หรือการสร้างสัญลักษณ์เกี่ยวกับการกำเนิดของพระเยซูถือเป็นหัวใจของการฉลองเทศกาล[[คริสต์มาส]]ของ[[คริสต์ศาสนิกชน]] คำว่า “คริสต์มาส” เป็นการฉลองเทศกาลที่แสดงความเชื่อว่าพระเยซูชาวนาซาเรธเป็น “[[พระคริสต์]]” หรือ “[[พระเมสสิยาห์]]” ตาม[[คัมภีร์ไบเบิล]]ภาค[[พันธสัญญาเดิม]] ในบาง[[คริสตจักร]] เช่น [[โรมันคาทอลิก]] ถือว่าจุดยอดของการฉลองอยู่ที่ [[พิธีมิสซา]]เที่ยงคืน หรือเช้าวันคริสต์มาสซึ่งจะเป็นวันที่ 25 ธันวาคมเสมอ ทาง[[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]]จะอดอาหารก่อนวันคริสต์มาส 40 วัน และวันอาทิตย์สี่วันก่อนคริสต์มาสคริสต์ศาสนิกชนทั้งนิกายโรมันคาทอลิกและ[[แองกลิคัน]]ก็จะฉลอง[[เทศกาลเตรียมรับเสด็จ]]พระเยซู เพื่อเป็นการเตรียมตัวทางใจเพื่อความพร้อมที่จะฉลองวันประสูติของพระเยซู
การระลึกถึง การแสดง หรือการสร้างสัญลักษณ์เกี่ยวกับการกำเนิดของพระเยซูถือเป็นหัวใจของการฉลองเทศกาล[[คริสต์มาส]] เพื่อแสดงความเชื่อว่าพระเยซูชาวนาซาเรธเป็น “[[พระคริสต์]]” หรือ “[[พระเมสสิยาห์]]” ตามที่ทำนายไว้[[คัมภีร์ไบเบิล]]ภาค[[พันธสัญญาเดิม]] ในบาง[[คริสตจักร]] เช่น [[โรมันคาทอลิก]] ถือว่าจุดยอดของการฉลองอยู่ที่[[พิธีมิสซา]]เที่ยงคืน หรือเช้าวันคริสต์มาสซึ่งจะเป็นวันที่ 25 ธันวาคมเสมอ ทาง[[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]]จะอดอาหารก่อนวันคริสต์มาส 40 วัน และวันอาทิตย์สี่วันก่อนคริสต์มาสคริสต์ศาสนิกชนทั้งนิกายโรมันคาทอลิกและ[[แองกลิคัน]]ก็จะฉลอง[[เทศกาลเตรียมรับเสด็จ]]พระเยซู เพื่อเป็นการเตรียมตัวทางใจเพื่อความพร้อมที่จะฉลองวันประสูติของพระเยซู


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
{{Gospel Jesus}}
{{Gospel Jesus}}


{{เรียงลำดับ|ประสูติของพระเยซู}}
[[หมวดหมู่:พระเยซู]]
[[หมวดหมู่:พระเยซู]]
{{birth|1}}
{{birth|1}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:48, 28 ธันวาคม 2555

“การประสูติ” โดยเปตรุส คริสตุส (Petrus Christus) ราว ค.ศ. 1445

การประสูติของพระเยซู (อังกฤษ: The Nativity of Jesus; the Nativity) หรือพระคริสตสมภพ[1] ถูกกล่าวถึงในพระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูกาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ ส่วนพระวรสารนักบุญมาระโกและพระวรสารนักบุญยอห์นมิได้กล่าวถึงการประสูติของพระเยซูไว้[2] แหล่งข้อมูลอื่นเกี่ยวกับเหตุการณ์นี้ก็มีแต่มิได้รวมอยู่ในสารบบคัมภีร์ไบเบิล

คำบรรยายของพระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูกากล่าวว่าพระเยซูชาวนาซาเร็ธเป็นบุตรของนางมารีย์ ขณะมีตั้งครรภ์ได้หมั้นอยู่กับโยเซฟจากตระกูลเดวิด เรื่องนี้คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูประสูติจากหญิงพรหมจารีเพราะเป็นการกำเนิดโดยอำนาจของพระวิญญาณบริสุทธิ์โดยมารดามิได้ร่วมประเวณีกับโยเซฟเลย คริสตชนจึงถือว่าโยเซฟเป็นเพียงบิดาบุญธรรม ทูตสวรรค์ได้ประกาศถึงการประสูติพระเยซูต่อคนเลี้ยงแกะ โหราจารย์สามคนก็ทราบเพราะได้เห็นดวงดาว[3] พระวรสารกล่าวว่าการกำเนิดของพระเยซูเป็นไปตามคำพยากรณ์ของเหล่าผู้เผยพระวจนะชาวอิสราเอล

การระลึกถึง การแสดง หรือการสร้างสัญลักษณ์เกี่ยวกับการกำเนิดของพระเยซูถือเป็นหัวใจของการฉลองเทศกาลคริสต์มาส เพื่อแสดงความเชื่อว่าพระเยซูชาวนาซาเรธเป็น “พระคริสต์” หรือ “พระเมสสิยาห์” ตามที่ทำนายไว้คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม ในบางคริสตจักร เช่น โรมันคาทอลิก ถือว่าจุดยอดของการฉลองอยู่ที่พิธีมิสซาเที่ยงคืน หรือเช้าวันคริสต์มาสซึ่งจะเป็นวันที่ 25 ธันวาคมเสมอ ทางอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์จะอดอาหารก่อนวันคริสต์มาส 40 วัน และวันอาทิตย์สี่วันก่อนคริสต์มาสคริสต์ศาสนิกชนทั้งนิกายโรมันคาทอลิกและแองกลิคันก็จะฉลองเทศกาลเตรียมรับเสด็จพระเยซู เพื่อเป็นการเตรียมตัวทางใจเพื่อความพร้อมที่จะฉลองวันประสูติของพระเยซู

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA