ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ช้างแมมมอธ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต แก้ไข: bg:Мамути
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Taxobox
{{Taxobox
| color = pink
| color = pink
| name = แมมมอธ Mammoth
| name =
| status = สูญพันธุ์
| status = สูญพันธุ์
| image = ColumbianMammoth_CollegeOfEasternUtah.jpg
| image = Woolly Mammoth-RBC.jpg
| image_width = 240px
| image_width = 240px
| image_caption = [[Columbian Mammoth]]
| image_caption = รูปวาด[[แมมมอธขนดก]]
| fossil_range = ยุคต้น[[ไพลโอซีน]] - ยุึคกลาง[[Holocene|โฮโลซีน]], {{fossilrange|5|0.0045}}
| regnum = [[Animal]]ia
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
บรรทัด 11: บรรทัด 12:
| ordo = [[Proboscidea]]
| ordo = [[Proboscidea]]
| familia = [[Elephantidae]]
| familia = [[Elephantidae]]
| genus = '''''Mammuthus'''''
| genus = '''''Mammuthus'''''<ref name="Mam"/>
| genus_authority = [[Joshua Brookes|Brookes]], 1828
| genus_authority = [[Joshua Brookes|Brookes]], 1828
| type_species = [[สูญพันธุ์|†]] ''[[Mammuthus primigenius]]''
| subdivision_ranks = Species
| type_species_authority = ([[Johann Friedrich Blumenbach|Blumenbach]], 1799 [ดั้งเดิม ''Elephas''])
| subdivision_ranks = [[Species|ชนิด]]
| subdivision =
| subdivision =
* ''[[Mammuthus africanavus]]'' African mammoth
* ''[[Mammuthus africanavus]]'' (แมมมอธแอฟริกา) [[สูญพันธุ์|†]]
* ''[[Mammuthus columbi]]'' Columbian mammoth
* ''[[Mammuthus columbi]]'' (แมมมอธโคลัมเบีย) [[สูญพันธุ์|†]]
* ''[[Mammuthus exilis]]'' Pygmy mammoth
* ''[[Mammuthus exilis]]'' (แมมมอธแคระ) [[สูญพันธุ์|†]]
* ''[[Mammuthus jeffersonii]]'' Jeffersonian mammoth
* ''[[Mammuthus jeffersonii]]'' (แมมมอธเจฟเฟอร์โซเนีย) [[สูญพันธุ์|†]]
* ''[[Mammuthus trogontherii]]'' Steppe mammoth
* ''[[Mammuthus trogontherii]]'' (แมมมอธทุ่งหญ้าสเตปป์) [[สูญพันธุ์|†]]
* ''[[Mammuthus meridionalis]]''
* ''[[Mammuthus meridionalis]]'' [[สูญพันธุ์|†]]
* ''[[Mammuthus subplanifrons]]'' [[South Africa]]n mammoth
* ''[[Mammuthus subplanifrons]]'' (แมมมอธแอฟริกาใต้) [[สูญพันธุ์|†]]
* ''[[Mammuthus primigenius]]'' Woolly mammoth
* ''[[Mammuthus primigenius]]'' (แมมมอธขนดก) [[สูญพันธุ์|†]]
* ''[[Mammuthus lamarmorae]]'' Sardinian Dwarf Mammoth
* ''[[Mammuthus lamarmorae]]'' (แมมมอธแคระซาร์ดิเนียน) [[สูญพันธุ์|†]]
}}
}}


'''ช้างแมมมอธ''' หรือ '''แมมมอธ''' ({{lang-en|Mammoth}}) เป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]][[อันดับช้าง|ตระกูลช้าง]]ที่อาศัยอยู่ใน[[ยุคน้ำแข็ง]]เมื่อกว่า 20,000 ปีก่อน จัดอยู่ในวงศ์ [[Elephantidae]] เช่นเดียวกับช้างที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน โดยอยู่ในสกุล ''Mammuthus'' จำแนกออกได้ทั้งหมด 9 ชนิด (ดูในตาราง)
'''ช้างแมมมอธ''' เป็น[[ช้าง]]ที่อาศัยอยู่ใน[[ยุคน้ำแข็ง]]เมื่อ 20,000 ปีก่อน แต่สูญพันธุ์ไปเพราะถูก[[มนุษย์]][[ยุคหิน]]ล่า มี[[ขน]]ยาวปกคลุมเพื่อป้องกันความหนาวเย็น มี[[งา]]ยาวและโค้ง การค้นพบซากแมมมอธ สามารถนำมาศึกษาวิจัยเรื่องการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศโลก เพราะแมมมอธเคยผ่านช่วงเวลานั้นมา พ.ศ. 2550 ได้มีการพบซากลูกช้างสูง 130 เซนติเมตร และมีน้ำหนัก 50 กิโลกรัม ใกล้กับ[[แม่น้ำยูริเบ]] ในเขตปกครองตนเอง ยามาล - เนเน็ต ทางตะวันตกเฉียงเหนือของ[[ไซบีเรีย]] โดย ยูริ คูดี<ref>http://breakingnews.nationchannel.com/read.php?newsid=269070&lang=T</ref>


โดยคำว่า "แมมมอธ" นั้นมาจากคำว่า "[[Mammal]]" หรือ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

แมมมอธ กระจายพันธุ์อยู่ทั่วโลก โดยเฉพาะ[[ทวีปยุโรป]]และ[[เอเชียเหนือ]] เช่น [[ไซบีเรีย]] ยกเว้น[[ออสเตรเลีย]]และ[[อเมริกาใต้]] เป็นช้างที่มีลำตัวและงาใหญ่กว่าช้างในยุคปัจจุบันมาก ปัจจุบันจะค้นพบ[[ซากดึกดำบรรพ์]]ของแมมมอธได้ใน[[Pleistocene |ยุคไพลสโตซีน]] <ref name="แมมมอธ"/>

แมมมอธ กำเนิดขึ้นมาเมื่อราว 2.6 ล้านปีก่อน ในยุค[[ไพลโอซีน]]ตอนต้น และ[[สูญพันธุ์]]อย่างสิ้นเชิง เมื่อ 11,700 ปีที่ผ่านมา (แมมมอธตัวสุดท้ายที่สูญพันธุ์ คือ แมมมอธแคระ ที่อาศัยบนเกาะแรงเกล ใน[[ทะเลอาร์กติก]] เมื่อราว 3,700 ปีก่อน<ref name="ช้าง"/>) แมมมอธมีขนาดโดยเฉลี่ย 4 เมตร (14 ฟุต) ตั้งแต่เท้าจนถึงหัวไหล่ มีสีขนที่หลากหลายตั้งแต่น้ำตาล หรือออกเหลือง ความยาวตั้งแต่ 2.5 เซนติเมตร (1 นิ้ว) จนถึง 50 เซนติเมตร (20 นิ้ว) ภายใต้ผิวหนังหนาและมีชั้นไขมันเป็นฉนวนกันความหนาว 8 เซนติเมตร (3 นิ้ว) มีส่วนหัวที่กลม ใบหูเล็กกว่าช้างในยุคปัจจุบันมาก มีโหนกไขมันอยู่บริเวณส่วนหลัง มีงายาวโค้งได้ถึง 13 ฟุต (4 เมตร)<ref name="Mam"/> ทั้งนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงตัวเองเพื่อเหมาะแก่การอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีแต่ความหนาวในยุคน้ำแข็ง เพื่อรักษาความอบอุ่นในร่างกาย <ref name="แมมมอธ"/>

แมมมอธ มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ด้วยการล่าเอาเนื้อเป็นอาหาร หนังและไขมันเป็นเครื่องสร้างความอบอุ่น จนมีภาพเขียนสีบนผนังถ้ำหลายแห่งที่ปรากฏภาพ การล่าแมมมอธด้วยอาวุธที่ทำจาก[[หิน]]ในยุคนั้น <ref name="แมมมอธ"/>

แมมมอธ จำแนกออกได้เป็นทั้งหมด 9 ชนิด แต่ละชนิดมีลักษณะ รูปร่าง แตกต่างกันออกไป โดยชนิดที่เป็นที่รู้จักดีที่สุด คือ [[แมมมอธขนดก]] (''Mammuthus primigenius'') ที่มีขนปกคลุมอยู่ทั้งตัว <ref name="แมมมอธ">[http://www.britannica.com/EBchecked/topic/360965/mammoth mammoth]</ref> <ref name="Mam">[http://www.elephant.se/mammoths.php Mammoths]</ref>

เชื่อว่า แมมมอธสูญพันธุ์ไปเพราะถูกล่าโดยมนุษย์จนหมด แต่จากการศึกษาด้านพันธุกรรมศาสตร์และ[[ดีเอ็นเอ]]พบว่า แมมมอธนั้นมีสายสัมพันธ์ใกล้เคียงกับ ''[[Elephas]]'' หรือช้างเอเชียที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์ฺมาจนปัจจุบัน จึงมีความพยายามจากนักวิทยาศาสตร์ที่จะ[[โคนนิ่ง]]ตัวอ่อนของแมมมอธให้เกิดขึ้นมาให้ได้ โดยให้แม่ช้างเอเชียเป็นฝ่ายอุ้มท้อง จากการสกลัด[[นิวเคลียส]]จากซากดึกดำบรรพ์ของลูกแมมมอธที่ค่อนข้างสมบูรณ์ เพราะถูกแช่แข็งในน้ำแข็ง จากไขกระดูกบริเวณต้นขา<ref name="ช้าง">[http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9540000158124 สักวันเราคงโคลน “แมมมอธ” สำเร็จด้วยแม่อุ้มบุญ “ช้างเอเชีย” จากผู้จัดการออนไลน์]</ref>

ในปลายเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2012 มีการค้นพบซากลูกแมมมอธอายุราว 30,000 ปี ที่สมบูรณ์มากตัวหนึ่งที่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือห่างจาก[[กรุงมอสโค]]ราว 3,500 กิโลเมตร โดยเด็กชายวัย 11 ขวบคนหนึ่ง นับเป็นการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ที่สมบูรณ์มากซากหนึ่งในรอบนับร้อยปี เชื่อว่า ลูกแมมมอธตัวดังกล่าวตายลงเมื่อมีอายุได้ 16 ปี มีความสูงได้ 2 เมตร <ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1349508791&grpid=01&catid=01 ด.ช.รัสเซีย 11 ขวบค้นพบ"ซากแมมมอธ"อายุ 30,000 ปี ในไซบีเรีย จากมติชน]</ref>
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{commonscat|Mammuthus}}
[[Image:Mammuthus Tooth Side View Pleistocene Ohio.jpg|thumb|left|''Mammuthus'']]
==แหล่งข้อมูลอื่น==
[[Image:Mammuthus Tooth Surface Pleistocene Ohio.jpg|thumb|left|''Mammuthus'']]
{{wikispecies-inline|Mammuthus}}

[[หมวดหมู่:ช้าง|มแมมอธ]]
[[หมวดหมู่:ช้าง|มแมมอธ]]

[[หมวดหมู่:สิ่งมีชีวิตที่สูญพันธุ์ไปแล้ว]]
[[หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่สูญพันธุ์ไปแล้ว]]
[[หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่สูญพันธุ์ไปแล้ว]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:03, 28 ธันวาคม 2555

ช้างแมมมอธ
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ยุคต้นไพลโอซีน - ยุึคกลางโฮโลซีน, 5–0.0045Ma
รูปวาดแมมมอธขนดก
สถานะการอนุรักษ์
สูญพันธุ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Proboscidea
วงศ์: Elephantidae
สกุล: Mammuthus[1]
Brookes, 1828
ชนิดต้นแบบ
Mammuthus primigenius
(Blumenbach, 1799 [ดั้งเดิม Elephas])
ชนิด

ช้างแมมมอธ หรือ แมมมอธ (อังกฤษ: Mammoth) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตระกูลช้างที่อาศัยอยู่ในยุคน้ำแข็งเมื่อกว่า 20,000 ปีก่อน จัดอยู่ในวงศ์ Elephantidae เช่นเดียวกับช้างที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน โดยอยู่ในสกุล Mammuthus จำแนกออกได้ทั้งหมด 9 ชนิด (ดูในตาราง)

โดยคำว่า "แมมมอธ" นั้นมาจากคำว่า "Mammal" หรือ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

แมมมอธ กระจายพันธุ์อยู่ทั่วโลก โดยเฉพาะทวีปยุโรปและเอเชียเหนือ เช่น ไซบีเรีย ยกเว้นออสเตรเลียและอเมริกาใต้ เป็นช้างที่มีลำตัวและงาใหญ่กว่าช้างในยุคปัจจุบันมาก ปัจจุบันจะค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของแมมมอธได้ในยุคไพลสโตซีน [2]

แมมมอธ กำเนิดขึ้นมาเมื่อราว 2.6 ล้านปีก่อน ในยุคไพลโอซีนตอนต้น และสูญพันธุ์อย่างสิ้นเชิง เมื่อ 11,700 ปีที่ผ่านมา (แมมมอธตัวสุดท้ายที่สูญพันธุ์ คือ แมมมอธแคระ ที่อาศัยบนเกาะแรงเกล ในทะเลอาร์กติก เมื่อราว 3,700 ปีก่อน[3]) แมมมอธมีขนาดโดยเฉลี่ย 4 เมตร (14 ฟุต) ตั้งแต่เท้าจนถึงหัวไหล่ มีสีขนที่หลากหลายตั้งแต่น้ำตาล หรือออกเหลือง ความยาวตั้งแต่ 2.5 เซนติเมตร (1 นิ้ว) จนถึง 50 เซนติเมตร (20 นิ้ว) ภายใต้ผิวหนังหนาและมีชั้นไขมันเป็นฉนวนกันความหนาว 8 เซนติเมตร (3 นิ้ว) มีส่วนหัวที่กลม ใบหูเล็กกว่าช้างในยุคปัจจุบันมาก มีโหนกไขมันอยู่บริเวณส่วนหลัง มีงายาวโค้งได้ถึง 13 ฟุต (4 เมตร)[1] ทั้งนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงตัวเองเพื่อเหมาะแก่การอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีแต่ความหนาวในยุคน้ำแข็ง เพื่อรักษาความอบอุ่นในร่างกาย [2]

แมมมอธ มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ด้วยการล่าเอาเนื้อเป็นอาหาร หนังและไขมันเป็นเครื่องสร้างความอบอุ่น จนมีภาพเขียนสีบนผนังถ้ำหลายแห่งที่ปรากฏภาพ การล่าแมมมอธด้วยอาวุธที่ทำจากหินในยุคนั้น [2]

แมมมอธ จำแนกออกได้เป็นทั้งหมด 9 ชนิด แต่ละชนิดมีลักษณะ รูปร่าง แตกต่างกันออกไป โดยชนิดที่เป็นที่รู้จักดีที่สุด คือ แมมมอธขนดก (Mammuthus primigenius) ที่มีขนปกคลุมอยู่ทั้งตัว [2] [1]

เชื่อว่า แมมมอธสูญพันธุ์ไปเพราะถูกล่าโดยมนุษย์จนหมด แต่จากการศึกษาด้านพันธุกรรมศาสตร์และดีเอ็นเอพบว่า แมมมอธนั้นมีสายสัมพันธ์ใกล้เคียงกับ Elephas หรือช้างเอเชียที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์ฺมาจนปัจจุบัน จึงมีความพยายามจากนักวิทยาศาสตร์ที่จะโคนนิ่งตัวอ่อนของแมมมอธให้เกิดขึ้นมาให้ได้ โดยให้แม่ช้างเอเชียเป็นฝ่ายอุ้มท้อง จากการสกลัดนิวเคลียสจากซากดึกดำบรรพ์ของลูกแมมมอธที่ค่อนข้างสมบูรณ์ เพราะถูกแช่แข็งในน้ำแข็ง จากไขกระดูกบริเวณต้นขา[3]

ในปลายเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2012 มีการค้นพบซากลูกแมมมอธอายุราว 30,000 ปี ที่สมบูรณ์มากตัวหนึ่งที่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือห่างจากกรุงมอสโคราว 3,500 กิโลเมตร โดยเด็กชายวัย 11 ขวบคนหนึ่ง นับเป็นการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ที่สมบูรณ์มากซากหนึ่งในรอบนับร้อยปี เชื่อว่า ลูกแมมมอธตัวดังกล่าวตายลงเมื่อมีอายุได้ 16 ปี มีความสูงได้ 2 เมตร [4]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Mammuthus ที่วิกิสปีชีส์

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA