ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แคว้นเชียงใหม่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
RxAlchemiste (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 114: บรรทัด 114:
'''แคว้นเชียงใหม่''' เป็นอาณาจักรอันเป็นหัวเมืองประเทศราชของราชวงศ์ตองอู ตั้งแต่ พ.ศ. 2207–2317 โดยข้าหลวงแห่งอังวะเป็นผู้บริหารราชการแ่ผ่นดินเชียงใหม่ทั้งหมด
'''แคว้นเชียงใหม่''' เป็นอาณาจักรอันเป็นหัวเมืองประเทศราชของราชวงศ์ตองอู ตั้งแต่ พ.ศ. 2207–2317 โดยข้าหลวงแห่งอังวะเป็นผู้บริหารราชการแ่ผ่นดินเชียงใหม่ทั้งหมด


[[พ.ศ. 2207]] [[พระเจ้าปเย]]แห่งอังวะได้ปฏิรูปการปกครองหัวเมือง รวมเอาล้านนาเป็นส่วนหนึ่งของ[[อาณาจักรรัตนปุระอังวะ]] ในฐานะ '''แคว้นเชียงใหม่''' พม่าได้ใช้ล้านนาเป็นฐานสำคัญในการยกกองทัพเข้าไปตีกรุงศรีอยุธยา และเป็นช่วงที่[[กรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ 2]]<ref>{{อ้างหนังสือ
[[พ.ศ. 2207]] [[พระเจ้าปเย]]แห่งอังวะได้ปฏิรูปการปกครองหัวเมือง รวมเอาล้านนาเป็นส่วนหนึ่งของ[[อาณาจักรรัตนปุระอังวะ]] ในฐานะ '''แคว้นเชียงใหม่''' คู่กับแคว้นเชียงแสน พม่าได้ใช้ล้านนาเป็นฐานสำคัญในการยกกองทัพเข้าไปตีกรุงศรีอยุธยา และเป็นช่วงที่[[กรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ 2]]<ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=ลัดดาวัลย์ แซ่เซียว
|ผู้แต่ง=ลัดดาวัลย์ แซ่เซียว
|ชื่อหนังสือ=200 ปี พม่าในล้านนา
|ชื่อหนังสือ=200 ปี พม่าในล้านนา

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:59, 26 พฤศจิกายน 2555

แคว้นเชียงใหม่

พ.ศ. 22072317
สถานะส่วนหนึ่งของอาณาจักรรัตนปุระอังวะ
เมืองหลวงเชียงใหม่
ภาษาทั่วไปไทยวน
การปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ประวัติศาสตร์ 
• พระเจ้าพระเจ้าปเยปฏิรูปการปกครองหัวเมือง
พ.ศ. 2207 พ.ศ. 2207
• อังวะแบ่งเมืองเชียงแสนและใกล้เคียงตั้งเป็นแคว้นเชียงแสน
พ.ศ. 2243
• เมืองเชียงใหม่ปกครองตนเอง
พ.ศ. 2270
• อังวะปกครองเชียงใหม่โดยตรง
พ.ศ. 2306
• ย้ายกำลังพลไปแคว้นเชียงแสน หนีการโจมตีของสยาม
พ.ศ. 2317
• สยามตีได้เชียงใหม่
พ.ศ. 2317 2317
ก่อนหน้า
ถัดไป
แคว้นล้านนา
นครเชียงใหม่
แคว้นเชียงแสน
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเป็นส่วนหนึ่งของ
- ภาคเหนือของไทย
- บางส่วนของรัฐฉาน

แคว้นเชียงใหม่ เป็นอาณาจักรอันเป็นหัวเมืองประเทศราชของราชวงศ์ตองอู ตั้งแต่ พ.ศ. 2207–2317 โดยข้าหลวงแห่งอังวะเป็นผู้บริหารราชการแ่ผ่นดินเชียงใหม่ทั้งหมด

พ.ศ. 2207 พระเจ้าปเยแห่งอังวะได้ปฏิรูปการปกครองหัวเมือง รวมเอาล้านนาเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรรัตนปุระอังวะ ในฐานะ แคว้นเชียงใหม่ คู่กับแคว้นเชียงแสน พม่าได้ใช้ล้านนาเป็นฐานสำคัญในการยกกองทัพเข้าไปตีกรุงศรีอยุธยา และเป็นช่วงที่กรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ 2[1]

รายนามผู้ปกครองแคว้นเชียงใหม่

แคว้นเชียงใหม่ในฐานะหัวเมืองของอาณาจักรอังวะ (พ.ศ. 2207 - 2270)

1 เจ้าเมืองแพร่ พ.ศ. 2202 - 2215 (13 ปี)
2 อุปราชอึ้งแซะ (เจ้าเมืองอังวะ) พ.ศ. 2215 - 2218 (3 ปี)
3 เจพูตราย พ.ศ. 2218 - 2250 (32 ปี)
4 มังแรนร่า พ.ศ. 2250 - 2270 (20 ปี)

แคว้นเชียงใหม่ในฐานะหัวเมืองอิสระ (พ.ศ. 2270 - 2306)

1 เทพสิงห์ พ.ศ. 2270 - 2270 (1 เดือน)
2 องค์คำ พ.ศ. 2270 - 2302 (32 ปี)
3 องค์จันทร์ พ.ศ. 2302 - 2304 (2 ปี)
4 เจ้าขี้หุด (อดีตภิกษุวัดดวงดี) พ.ศ. 2304 - 2306 (2 ปี)

แคว้นเชียงใหม่ในฐานะหัวเมืองของอาณาจักรอังวะ (พ.ศ. 2306 - 2317)

1 โป่อภัยคามินี (โป่อะเกียะคามุนี) พ.ศ. 2306 - 2311 (5 ปี)
2 โป่มะยุง่วน พ.ศ. 2311 - 2317 (6 ปี)

ดินแดนล้านนาในฐานะเมืองขึ้นของพม่าไม่ได้มีความสงบสุข มีแต่การกบฎแก่งแย่งชิงอำนาจกันอยู่ตลอดเวลา หัวเมืองล้านนาพยายามฟื้นม่านมาโดยตลอด แต่ก็ไม่สำเร็จ จนกระทั่ง พระยาจ่าบ้าน (บุญมา) เจ้ากาวิละ และสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สามารถตีเอาเชียงใหม่คืนมาได้ในปี พ.ศ. 2317 ทำให้อิทธิพลของพม่าหมดไปจากแผ่นดินล้านนา[2]

อ้างอิง

  1. ลัดดาวัลย์ แซ่เซียว. 200 ปี พม่าในล้านนา. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว), 2545. 181 หน้า. ISBN 974-7206-09-9
  2. ลัดดาวัลย์ แซ่เซียว. 200 ปี พม่าในล้านนา. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว), 2545. 181 หน้า. ISBN 974-7206-09-9