ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสังเคราะห์เสียงพูด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แจ้งต้องการเก็บกวาดด้วยสจห.
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: zh,pl,eu,ko,fr,es,ta,af,ms,hu,it,et,de,ja,vi,simple,sv,ar,nl,hi,pt,eo,tg,ru,sr,tr,no,ca,fi,uk,fo,nn,cs,fa,ur,hr,da
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
{{โครงซอฟต์แวร์}}
{{โครงซอฟต์แวร์}}


[[af:Spraaksintese]]
[[ar:تصنيع صوتي]]
[[ca:Síntesi de veu]]
[[cs:Syntéza řeči]]
[[da:Talesyntese]]
[[de:Sprachsynthese]]
[[en:Speech synthesis]]
[[en:Speech synthesis]]
[[eo:Parolsintezo]]
[[es:Síntesis de habla]]
[[et:Kõnesüntesaator]]
[[eu:Hizketaren sintesi]]
[[fa:متن به صدا]]
[[fi:Puhesynteesi]]
[[fo:Talusyntesa]]
[[fr:Synthèse vocale]]
[[hi:वाक् संश्लेषण]]
[[hr:Sintetizator govora]]
[[hu:Beszédszintézis]]
[[it:Sintesi vocale]]
[[ja:音声合成]]
[[ko:음성 합성]]
[[ms:Lafal buatan]]
[[nl:Spraaksynthese]]
[[nn:Talesyntese]]
[[no:Talesyntese]]
[[pl:Synteza mowy]]
[[pt:Síntese de voz]]
[[ru:Синтез речи]]
[[simple:Text to Speech]]
[[sr:Sinteza govora]]
[[sv:Talsyntes]]
[[ta:பேச்சொலியாக்கம்]]
[[tg:Матн ба садо]]
[[tr:Konuşma Sentezleyici]]
[[uk:Синтез мови]]
[[ur:تالیف کلام]]
[[vi:Tổng hợp giọng nói]]
[[zh:语音合成]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:39, 21 พฤศจิกายน 2555

ซอฟต์แวร์สังเคราะห์เสียง เป็นเทคโนโลยีที่สามารถสร้างเสียงคำพูดใดๆ ได้ตามความต้องการ ซึ่งในการใช้งานส่วนใหญ่จะต้องใช้งานร่วมกับเทคโนโลยีด้านการประมวลผลภาษา (Language Processing Technology) ทำให้ได้เทคโนโลยีสังเคราะห์เสียงจากข้อความ (Text-to-Speech Synthesis: TTS) ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับข้อความภาษาไทย เพื่อหาวิธีอ่านข้อความแล้วแปลงข้อความจากตัวหนังสือภาษาไทยให้เป็นเสียงพูดภาษาไทย ซอฟต์แวร์สังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทยคุณภาพสูงสามารถสังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทยได้ทุกคำ เนื่องจากมีส่วนวิเคราะห์คำอ่านที่สามารถวิเคราะห์ได้แม้แต่คำที่ไม่เคยปรากฏในพจนานุกรม นอกจากนี้ผู้ใช้สามารถเพิ่มคำเฉพาะเช่นชื่อบุคคล พร้อมทั้งกำหนดคำอ่านได้อย่างอิสระ เพื่อให้ซอฟต์แวร์สามารถแปลงข้อความมาเป็นเสียงพูดได้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ นอกจากนี้ยังสามารถสร้างเป็นซอฟต์แวร์ไลบรารี่ที่สะดวกสำหรับผู้นำไปพัฒนาต่อ

ประโยชน์

ประโยชน์ของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสังเคราะห์เสียงพูด ได้แก่

  1. สามารถนำเทคโนโลยีสังเคราะห์เสียงพูดมาแปลงข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ที่มีปริมาณมากและมีการปรับเปลี่ยนตลอดเวลา เช่น การส่งข่าวสารผ่านข้อความเสียง (voice message) การรายงานข่าว การวิเคราะห์หุ้น มาเป็นเสียงพูด เพื่อให้ผู้รับข่าวสารได้รับข่าวทันทีโดยสะดวก
  2. สามารถเผยแพร่ข่าวสารผ่านเครือข่ายพื้นฐานที่มีอยู่แล้ว เช่น เครือข่ายโทรศัพท์บ้าน โทรศัพท์มือถือ และอินเทอร์เน็ต ซึ่งการเผยแพร่ทางเสียงเป็นวิธีการพื้นฐานที่เข้าถึงได้ทุกเครือข่ายโดยไม่ต้องการอุปกรณ์เพิ่มเติม
  3. ผู้รับข่าวสารสามารถรับข่าวสารโดยไม่ต้องละจากกิจกรรมที่ทำอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่ผู้รับอยู่ในภาวะที่ก่อให้เกิดอันตรายได้ เช่น ขณะขับขี่รถยนต์
  4. สามารถประยุกต์ใช้กับอุปกรณ์สื่อสารอื่นๆ เช่น ผู้ใช้บริการสามารถส่งข้อมูลโดยโทรสาร ในขณะที่ผู้รับปลายทางสามารถรับฟังข้อความบนเอกสารโดยโทรศัพท์ทั่วไป
  5. การเพิ่มโอกาสให้คนพิการ เช่น โปรแกรมอ่านข้อมูลเพื่อคนตาบอด หรืออุปกรณ์ช่วยพูดแทนคนใบ้

ซอฟต์แวร์สังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทย

ปัจจุบันซอฟต์แวร์สังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทยคุณภาพสูงได้รับการถ่ายทอดสู่เชิงพาณิชย์แล้ว และยังได้รับการพัฒนาเป็นต้นแบบโปรแกรมประยุกต์เพื่อช่วยในการตรวจสอบอีเมล์ โดยซอฟต์แวร์จะแปลงข้อมูลในอีเมลเป็นเสียงอ่านส่งผ่านมาทางเครื่องโทรศัพท์เพื่อความสะดวกของผู้ใช้งาน อีกทั้งยังได้พัฒนาเป็นโปรแกรมต้นแบบสำหรับท่องเว็บ (web browser) ที่มีความพิเศษที่สามารถอ่านข้อความที่อยู่บนเว็บนั้นได้และรายงานสถานะการทำงานด้วยเสียง ซึ่งจะเป็นประโยชน์มากกับผู้ที่มีความบกพร่องทางด้านสายตา

ในประเทศไทย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติได้พัฒนาซอฟต์แวร์สังเคราะห์เสียงพูด ชื่อว่า วาจา (Vaja)