ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรมาจิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JYBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: de:Japanische Schrift#Rōmaji
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{การเขียนภาษาญี่ปุ่น}}
{{การเขียนภาษาญี่ปุ่น}}
'''โรมะจิ''' ({{ญี่ปุ่น| ローマ字}}) , เขียนแบบโรมะจิ: Rōmaji) เป็น[[อักษรโรมัน]]หรืออักษรภาษาอังกฤษที่ใช้ใน[[ภาษาญี่ปุ่น]] ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นใช้ [[คะนะ]]และ[[คันจิ]]เป็นหลัก ซึ่งโรมะจินี้เป็นวิธีที่นิยมสำหรับบุคคลที่ไม่ใช่คนญี่ปุ่นเรียนภาษาญี่ปุ่น และยังเป็นที่นิยมในการพิมพ์ข้อมูลภาษาญี่ปุ่นลงในคอมพิวเตอร์ โดยการพิมพ์บน[[คีย์บอร์ด (คอมพิวเตอร์)|คีย์บอร์ด]]เป็นโรมะจิและคอมพิวเตอร์แสดงผลเป็นภาษาญี่ปุ่นตัวอักษรแบบต่างๆ
'''โรมะจิ''' ({{ญี่ปุ่น| ローマ字}}) , เขียนแบบโรมะจิ: Rōmaji) เป็น[[อักษรโรมัน]]ที่ใช้ใน[[ภาษาญี่ปุ่น]]ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นใช้ [[คะนะ]]และ[[คันจิ]]เป็นหลัก ซึ่งโรมะจินี้เป็นวิธีที่นิยมสำหรับบุคคลที่ไม่ใช่คนญี่ปุ่นเรียนภาษาญี่ปุ่น และยังเป็นที่นิยมในการพิมพ์ข้อมูลภาษาญี่ปุ่นลงในคอมพิวเตอร์ โดยการพิมพ์บน[[คีย์บอร์ด (คอมพิวเตอร์)|คีย์บอร์ด]]เป็นโรมะจิและคอมพิวเตอร์แสดงผลเป็นภาษาญี่ปุ่นตัวอักษรแบบต่าง ๆ



โรมะจิเริ่มเป็นที่นิยมตั้งแต่สมัย[[สงครามโลก]] ซึ่งเริ่มเรียนตั้งแต่ระดับ[[ประถมศึกษา]] สำหรับการเขียนและการอ่านโรมะจิ
โรมะจิเริ่มเป็นที่นิยมตั้งแต่สมัย[[สงครามโลก]] ซึ่งเริ่มเรียนตั้งแต่ระดับ[[ประถมศึกษา]] สำหรับการเขียนและการอ่านโรมะจิ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:58, 18 พฤศจิกายน 2555

โรมะจิ (ญี่ปุ่น: ローマ字) , เขียนแบบโรมะจิ: Rōmaji) เป็นอักษรโรมันที่ใช้ในภาษาญี่ปุ่นในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นใช้ คะนะและคันจิเป็นหลัก ซึ่งโรมะจินี้เป็นวิธีที่นิยมสำหรับบุคคลที่ไม่ใช่คนญี่ปุ่นเรียนภาษาญี่ปุ่น และยังเป็นที่นิยมในการพิมพ์ข้อมูลภาษาญี่ปุ่นลงในคอมพิวเตอร์ โดยการพิมพ์บนคีย์บอร์ดเป็นโรมะจิและคอมพิวเตอร์แสดงผลเป็นภาษาญี่ปุ่นตัวอักษรแบบต่าง ๆ

โรมะจิเริ่มเป็นที่นิยมตั้งแต่สมัยสงครามโลก ซึ่งเริ่มเรียนตั้งแต่ระดับประถมศึกษา สำหรับการเขียนและการอ่านโรมะจิ

โรมะจิใช้สำหรับการเขียนคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ ซึ่งโรมะจิในปัจจุบัน มีอยู่ 3 ระบบ ได้แก่ นิฮงชิกิ (日本式) แบบดั้งเดิม, คุงเรชิกิ (訓令式) แบบที่ดัดแปลงจากนิฮงชิกิ และ เฮ็ปเบิร์น หรือ เฮะบงชิกิ (ヘボン式) แบบปรับปรุงพัฒนาตามการออกเสียงจริง ซึ่งเป็นที่นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน
ตัวอย่างของการเขียนคำทับศัพท์แบบต่างๆ

ความหมาย คันจิ/คะนะ ฟุริงะนะ โรมะจิ
เฮ็ปเบิร์น คุงเรชิกิ นิฮงชิกิ
โรมะจิ ローマ字 ローマじ rōmaji rômazi rōmazi
ภูเขาฟูจิ 富士山 ふじさん Fujisan Huzisan Huzisan
ชา お茶 おちゃ ocha otya otya
รัฐบาล 知事 ちじ chiji tizi tizi
ย่อขนาด 縮む ちぢむ chijimu tizimu tidimu
(ตอน) ต่อไป 続く つづく tsuzuku tuzuku tuduku

ดูเพิ่ม