ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิตยสาร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink: คอมมอนส์-หมวดหมู่
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (Robot: Modifying wa:Rivowe to wa:Rivuwe; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ไฟล์:Bundesarchiv B 145 Bild-F079099-0023, Göttingen, Schreibwarengeschäft.jpg|336px|right|]]
[[ไฟล์:Bundesarchiv B 145 Bild-F079099-0023, Göttingen, Schreibwarengeschäft.jpg|336px|right|]]
'''นิตยสาร''' ({{lang-en|magazine}}) คือ[[สิ่งพิมพ์รายคาบ]]ที่ออกเป็นระยะสำหรับผู้อ่านทั่วไป มีเนื้อหาหลากหลาย มุ่งทั้งให้ความรู้และความบันเทิง ความรู้มักเป็นไปในลักษณะที่ให้ความรอบรู้ มีการหารายได้จากการ[[โฆษณา]]และวางขายทั่วไป ผู้อ่านสามารถบอกรับเป็นสมาชิกได้
'''นิตยสาร''' ({{lang-en|magazine}}) คือ[[สิ่งพิมพ์รายคาบ]]ที่ออกเป็นระยะสำหรับผู้อ่านทั่วไป มีเนื้อหาหลากหลาย มุ่งทั้งให้ความรู้และความบันเทิง ความรู้มักเป็นไปในลักษณะที่ให้ความรอบรู้ มีการหารายได้จากการ[[โฆษณา]]และวางขายทั่วไป ผู้อ่านสามารถบอกรับเป็นสมาชิกได้


คำว่า "นิตยสาร" มาจากรากศัพท์ คือ นิตย (สม่ำเสมอ) และสาร (เนื้อหา) คำว่า "นิตยสาร" โดยทั่วไปอาจมีความหมายคาบเกี่ยวกับคำว่า [[วารสาร]] ซึ่งออกตามกำหนดเวลาที่แน่นอนเช่นกัน แต่ในทาง[[บรรณารักษศาสตร์]] ปัจจุบัน เมื่อมีการใช้[[อินเทอร์เน็ต]] ทำให้มีนิตยสารใน[[อินเทอร์เน็ต]] ซึ่งมิใช่สิ่งพิมพ์ แต่ก็ยังเรียกกันว่า "นิตยสาร"
คำว่า "นิตยสาร" มาจากรากศัพท์ คือ นิตย (สม่ำเสมอ) และสาร (เนื้อหา) คำว่า "นิตยสาร" โดยทั่วไปอาจมีความหมายคาบเกี่ยวกับคำว่า [[วารสาร]] ซึ่งออกตามกำหนดเวลาที่แน่นอนเช่นกัน แต่ในทาง[[บรรณารักษศาสตร์]] ปัจจุบัน เมื่อมีการใช้[[อินเทอร์เน็ต]] ทำให้มีนิตยสารใน[[อินเทอร์เน็ต]] ซึ่งมิใช่สิ่งพิมพ์ แต่ก็ยังเรียกกันว่า "นิตยสาร"


เป็นที่น่าสังเกตว่า นิตยสารบางชื่อ ไม่ได้ใช้คำว่า นิตยสาร แต่ก็น่าจะจัดเป็นนิตยสารได้ เช่น "อนุสาร อ.ส.ท." ของ[[การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย]] ขณะที่สิ่งพิมพ์บางชนิด มีความก่ำกึ่ง ระหว่างหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ และนิตยสารรายสัปดาห์ เช่น มติชนรายสัปดาห์ สยามรัฐรายสัปดาห์ เนชั่นรายสัปดาห์ เป็นต้น ทั้งนี้ก็เพราะเนื้อหาในเล่ม มีทั้งข่าว วิเคราะห์ข่าว และบันเทิง ในสัดส่วนที่พอๆ กัน โดยทั่วไปนิตยสารมักจะมีลักษณะผ่อนคลาย เล่าเรื่อง ไม่นิยมเขียนในลักษณะตำรา เว้นแต่ละแทรกอยู่เป็นบางส่วนของเล่ม
เป็นที่น่าสังเกตว่า นิตยสารบางชื่อ ไม่ได้ใช้คำว่า นิตยสาร แต่ก็น่าจะจัดเป็นนิตยสารได้ เช่น "อนุสาร อ.ส.ท." ของ[[การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย]] ขณะที่สิ่งพิมพ์บางชนิด มีความก่ำกึ่ง ระหว่างหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ และนิตยสารรายสัปดาห์ เช่น มติชนรายสัปดาห์ สยามรัฐรายสัปดาห์ เนชั่นรายสัปดาห์ เป็นต้น ทั้งนี้ก็เพราะเนื้อหาในเล่ม มีทั้งข่าว วิเคราะห์ข่าว และบันเทิง ในสัดส่วนที่พอๆ กัน โดยทั่วไปนิตยสารมักจะมีลักษณะผ่อนคลาย เล่าเรื่อง ไม่นิยมเขียนในลักษณะตำรา เว้นแต่ละแทรกอยู่เป็นบางส่วนของเล่ม


นิตยสารสำหรับคนอ่านเฉพาะกลุ่มฉบับแรกของโลกตีพิมพ์ในกรุง[[ลอนดอน]]เมื่อ [[พ.ศ. 2274]] (สมัย[[พระเจ้าท้ายสระ]]) ชื่อ "นิตยสารสุภาพบุรุษ" (The Gentleman's Magazine) เลิกกิจการไปเมื่อ [[พ.ศ. 2450]]
นิตยสารสำหรับคนอ่านเฉพาะกลุ่มฉบับแรกของโลกตีพิมพ์ในกรุง[[ลอนดอน]]เมื่อ [[พ.ศ. 2274]] (สมัย[[พระเจ้าท้ายสระ]]) ชื่อ "นิตยสารสุภาพบุรุษ" (The Gentleman's Magazine) เลิกกิจการไปเมื่อ [[พ.ศ. 2450]]
บรรทัด 28: บรรทัด 28:


{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Magazines}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Magazines}}
{{โครงวรรณกรรม}}


[[หมวดหมู่:สื่อวรรณกรรม]]
[[หมวดหมู่:สื่อวรรณกรรม]]
[[หมวดหมู่:นิตยสาร| ]]
[[หมวดหมู่:นิตยสาร| ]]
{{โครงวรรณกรรม}}


[[af:Tydskrif]]
[[af:Tydskrif]]
บรรทัด 98: บรรทัด 98:
[[uz:Jurnal]]
[[uz:Jurnal]]
[[vi:Tạp chí]]
[[vi:Tạp chí]]
[[wa:Rivowe]]
[[wa:Rivuwe]]
[[xmf:ჟურნალი]]
[[xmf:ჟურნალი]]
[[yi:זשורנאל]]
[[yi:זשורנאל]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:15, 13 พฤศจิกายน 2555

นิตยสาร (อังกฤษ: magazine) คือสิ่งพิมพ์รายคาบที่ออกเป็นระยะสำหรับผู้อ่านทั่วไป มีเนื้อหาหลากหลาย มุ่งทั้งให้ความรู้และความบันเทิง ความรู้มักเป็นไปในลักษณะที่ให้ความรอบรู้ มีการหารายได้จากการโฆษณาและวางขายทั่วไป ผู้อ่านสามารถบอกรับเป็นสมาชิกได้

คำว่า "นิตยสาร" มาจากรากศัพท์ คือ นิตย (สม่ำเสมอ) และสาร (เนื้อหา) คำว่า "นิตยสาร" โดยทั่วไปอาจมีความหมายคาบเกี่ยวกับคำว่า วารสาร ซึ่งออกตามกำหนดเวลาที่แน่นอนเช่นกัน แต่ในทางบรรณารักษศาสตร์ ปัจจุบัน เมื่อมีการใช้อินเทอร์เน็ต ทำให้มีนิตยสารในอินเทอร์เน็ต ซึ่งมิใช่สิ่งพิมพ์ แต่ก็ยังเรียกกันว่า "นิตยสาร"

เป็นที่น่าสังเกตว่า นิตยสารบางชื่อ ไม่ได้ใช้คำว่า นิตยสาร แต่ก็น่าจะจัดเป็นนิตยสารได้ เช่น "อนุสาร อ.ส.ท." ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ขณะที่สิ่งพิมพ์บางชนิด มีความก่ำกึ่ง ระหว่างหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ และนิตยสารรายสัปดาห์ เช่น มติชนรายสัปดาห์ สยามรัฐรายสัปดาห์ เนชั่นรายสัปดาห์ เป็นต้น ทั้งนี้ก็เพราะเนื้อหาในเล่ม มีทั้งข่าว วิเคราะห์ข่าว และบันเทิง ในสัดส่วนที่พอๆ กัน โดยทั่วไปนิตยสารมักจะมีลักษณะผ่อนคลาย เล่าเรื่อง ไม่นิยมเขียนในลักษณะตำรา เว้นแต่ละแทรกอยู่เป็นบางส่วนของเล่ม

นิตยสารสำหรับคนอ่านเฉพาะกลุ่มฉบับแรกของโลกตีพิมพ์ในกรุงลอนดอนเมื่อ พ.ศ. 2274 (สมัยพระเจ้าท้ายสระ) ชื่อ "นิตยสารสุภาพบุรุษ" (The Gentleman's Magazine) เลิกกิจการไปเมื่อ พ.ศ. 2450

นิตยสารสำหรับผู้บริโภคฉบับแรกของโลกคือ "นิตยสารสกอต" (The Scots Magazine) ตีพิมพ์ในสกอตแลนด์เมื่อปี พ.ศ. 2282 ซึ่งตรงกับสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และยังคงตีพิมพ์อยู่จนถึงในปัจจุบัน

การตีพิมพ์

องค์ประกอบของนิตยสารอาจมีความแตกต่างกันได้เป็นอย่างมาก องค์ประกอบหลัก เช่น วาระการออก รูปแบบ เป้าหมายกลุ่มผู้อ่านมีความผันแปรหาความตายตัวไม่ได้ นิตยสารบางฉบับจะเจาะเรื่องที่น่าสนใจเฉพาะ เช่น เกี่ยวกับสัตว์เลี้ยง ยานพาหนะ งานอดิเรก หรือการเมือง รวมทั้งแนวศิลปะ บันเทิง แฟชั่น รถยนต์ ท่องเที่ยวระยะการออกจึงมีตั้งแต่รายสัปดาห์ รายปักษ์ รายเดือน รายสองเดือน ราย 3 เดือน (quarterly) ราย 6 เดือนไปจนถึงรายปี

ปกตินิตยสารจะมีวันที่ปรากฏบนปกซึ่งมักล่าจากวันที่วางตลาด นิตยสารเกือบทั้งหมดจะวางจำหน่ายตามร้านและแผงขายหนังสือทั่วประเทศ ผู้บอกรับเป็นสมาชิกจะได้รับนิตยสารทางไปรษณีย์

นิตยสารส่วนใหญ่ตีพิมพ์ในจำนวนที่มากและพยายามทำให้ต้นทุนการพิมพ์ต่ำเพื่อให้มีราคาขายต่ำ นิตยสารบางประเภทที่มีต้นทุนการพิมพ์สูงมักอาศัยการลงโฆษณามาช่วยลดราคาขายให้ต่ำลง

นิตยสารทุกเล่ม จะต้องขออนุญาตจัดพิมพ์จากทางราชการ และได้รับหมายเลขสากลประจำนิตยสาร เรียกว่า ISSN (International Standard Serial Number) ซึ่งนิตยสารจะตีพิมพ์ไว้ในส่วนที่เห็นชัดของเล่ม เช่น ปกหน้า สารบัญ สันปก หรือปกหลัง

ดูเพิ่ม