ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555''' เป็นชุดข้อพิพาทที่ดำลังดำเนินอยู่ระหว่างชาติพันธุ์[[ชาวยะไข่|ยะไข่]]พุทธและมุสลิม[[โรฮิงยา]]ทางตอนเหนือของ[[รัฐยะไข่]] [[ประเทศพม่า]] แต่เมื่อถึงเดือนตุลาคม มุสลิมทุกชาติพันธุ์เริ่มตกเป็นเป้า เหตุจลาจลเกิดขึ้นหลังข้อพิพาททางศาสนาหลายสัปดาห์และถูกประณามโดยประชาชนทั้งสองฝ่ายของข้อพิพาทส่วนใหญ่ สาเหตุของเหตุจลาจลที่ใกล้ชิดยังไม่ชัดเจน ขณะที่นักวิจารณ์หลายคนอ้างว่า เหตุชาติพันธุ์ยะไข่สังหารมุสลิมพม่าสิบคนหลังการข่มขืนและฆ่าสตรีชาวยะไข่เป็นสาเหตุหลัก รัฐบาลพม่าสนองโดยกำหนด[[การห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืน]] และวางกำลังทหารในพื้นที่ วันที่ 10 มิถุนายน มีการประกาศ[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]]ในรัฐยะไข่ ซึ่งอนุญาตให้ทหารเข้ามาปกครองพื้นที่ ถึงวันที่ 22 สิงหาคม ตัวเลขผู้เสียชีวิตอย่างเป็นทางการอยู่ที่ 88 คน เป็นมุสลิม 57 คน และชาวพุทธ 31 คน ประเมินว่ามีประชาชน 90,000 คนพลัดถิ่นจากความรุนแรงดังกล่าว มีบ้านเรือนถูกเผาราว 2,528 หลัง จำนวนนี้ 1,336 หลังเป็นของชาวโรฮิงยา และ 1,192 หลังเป็นของชาวยะไข่ กองทัพและตำวจพม่าถูกกล่าวหาว่ามีบทบาทนำในการจับกุมหมู่และความรุนแรงตามอำเภอใจต่อชาวโรฮิงยา
'''เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555''' เป็นชุดข้อพิพาทที่ดำลังดำเนินอยู่ระหว่างชาติพันธุ์[[ชาวยะไข่|ยะไข่]]พุทธและมุสลิม[[โรฮิงยา]]ทางตอนเหนือของ[[รัฐยะไข่]] [[ประเทศพม่า]] แต่เมื่อถึงเดือนตุลาคม มุสลิมทุกชาติพันธุ์เริ่มตกเป็นเป้า<ref name=BBC2710>{{cite web |url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-20110150 |title=Burma admits Rakhine destruction |date=27 October 2012 |publisher=BBC News |archivedate=27 October 2012 |archiveurl=http://www.webcitation.org/6Bj9MIA1a |accessdate=27 October 2012}}</ref><ref name=G2710>{{cite web |url=http://www.guardian.co.uk/world/2012/oct/27/burma-wave-anti-muslim-violence# |title=Burma's leader admits deadly attacks on Muslims |author=Peter Beaumont |date=27 October 2012 |work=The Guardian |archivedate=27 October 2012 |archiveurl=http://www.webcitation.org/6BjNR0bEQ |accessdate=27 October 2012}}</ref> เหตุจลาจลเกิดขึ้นหลังข้อพิพาททางศาสนาหลายสัปดาห์และถูกประณามโดยประชาชนทั้งสองฝ่ายของข้อพิพาทส่วนใหญ่<ref>{{cite news | url=http://www.reuters.com/article/2012/06/08/us-myanmar-violence-idUSBRE85714E20120608 | title=Four killed as Rohingya Muslims riot in Myanmar: government | agency=Reuters | date=8 June 2012 | accessdate=9 June 2012}}</ref> สาเหตุของเหตุจลาจลที่ใกล้ชิดยังไม่ชัดเจน ขณะที่นักวิจารณ์หลายคนอ้างว่า เหตุชาติพันธุ์ยะไข่สังหารมุสลิมพม่าสิบคนหลังการข่มขืนและฆ่าสตรีชาวยะไข่เป็นสาเหตุหลัก รัฐบาลพม่าสนองโดยกำหนด[[การห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืน]] และวางกำลังทหารในพื้นที่ วันที่ 10 มิถุนายน มีการประกาศ[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]]ในรัฐยะไข่ ซึ่งอนุญาตให้ทหารเข้ามาปกครองพื้นที่<ref>{{cite web | url=http://burma.irrawaddy.org/archives/11901 | title=အေရးေပၚအေျခအေန ေၾကညာခ်က္ ႏုိင္ငံေရးသမားမ်ား ေထာက္ခံ | publisher=The Irrawaddy | date=11 June 2012 | accessdate=11 June 2012 | author=Linn Htet}}</ref><ref>{{Cite news | first = Fergal | last= Keane | authorlink= Fergal Keane| title = Old tensions bubble in Burma| url = http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-18402678| publisher = [[BBC News Online]]| date = 11 June 2012| accessdate = 11 June 2012}}</ref> ถึงวันที่ 22 สิงหาคม ตัวเลขผู้เสียชีวิตอย่างเป็นทางการอยู่ที่ 88 คน เป็นมุสลิม 57 คน และชาวพุทธ 31 คน<ref name="mofa.gov.mm">{{cite web|format=PDF |url=http://www.mofa.gov.mm/pressrelease/Press_Release_Rakhine_State_Affairs_Webversion%2821-08-12%29.pdf |title=Press Release |date=21 August 2012 |publisher=Government of the Republic of the Union of Myanmar Ministry of Foreign Affairs |archivedate=27 October 2012 |archiveurl=http://www.webcitation.org/6Bj9aSWM5 |accessdate=27 October 2012}}</ref> ประเมินว่ามีประชาชน 90,000 คนพลัดถิ่นจากความรุนแรงดังกล่าว<ref>{{cite news|title=Burma’s ethnic clashes leave 90,000 in need of food, says UN|url=http://www.thestar.com/news/world/article/1213585--burma-s-ethnic-clashes-leave-90-000-in-need-of-food-says-un|accessdate=16 July 2012|newspaper=[[Toronto Star]]|date=19 June 2012}}</ref><ref name=displaced>{{cite news|title=Burma unrest: Rakhine violence 'displaces 30,000'|work=BBC News|date=14 June 2012|url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-18449264|accessdate=14 June 2012}}</ref> มีบ้านเรือนถูกเผาราว 2,528 หลัง จำนวนนี้ 1,336 หลังเป็นของชาวโรฮิงยา และ 1,192 หลังเป็นของชาวยะไข่<ref>{{cite news| url=http://www.google.com/hostednews/ap/article/ALeqM5iNgy-B1h5qAfy0mlidJESbqDF6aA?docId=88ce24b723ee4aeb87f960a9a1eb4129 | title=Both ethnic groups suffered in Myanmar clashes | agency=Associated Press | date=15 Jun 2012 | accessdate=16 June 2012}}</ref> กองทัพและตำวจพม่าถูกกล่าวหาว่ามีบทบาทนำในการจับกุมหมู่และความรุนแรงตามอำเภอใจต่อชาวโรฮิงยา<ref name="dvb_hindstorm">{{cite news|last=Hindstorm|first=Hanna|title=Burmese authorities targeting Rohingyas, UK parliament told|url=http://www.dvb.no/news/burmese-authorities-targeting-rohingyas-uk-parliament-told/22676|accessdate=9 July 2012|date=28 June 2012|agency=[[Democratic Voice of Burma]]}}</ref>

การต่อสู้เกิดขึ้นอีกครั้งในเดือนตุลาคม เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 64 คน และบ้านเรือนหลายพันหลังถูกทำลาย


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:18, 28 ตุลาคม 2555

เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555 เป็นชุดข้อพิพาทที่ดำลังดำเนินอยู่ระหว่างชาติพันธุ์ยะไข่พุทธและมุสลิมโรฮิงยาทางตอนเหนือของรัฐยะไข่ ประเทศพม่า แต่เมื่อถึงเดือนตุลาคม มุสลิมทุกชาติพันธุ์เริ่มตกเป็นเป้า[1][2] เหตุจลาจลเกิดขึ้นหลังข้อพิพาททางศาสนาหลายสัปดาห์และถูกประณามโดยประชาชนทั้งสองฝ่ายของข้อพิพาทส่วนใหญ่[3] สาเหตุของเหตุจลาจลที่ใกล้ชิดยังไม่ชัดเจน ขณะที่นักวิจารณ์หลายคนอ้างว่า เหตุชาติพันธุ์ยะไข่สังหารมุสลิมพม่าสิบคนหลังการข่มขืนและฆ่าสตรีชาวยะไข่เป็นสาเหตุหลัก รัฐบาลพม่าสนองโดยกำหนดการห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืน และวางกำลังทหารในพื้นที่ วันที่ 10 มิถุนายน มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในรัฐยะไข่ ซึ่งอนุญาตให้ทหารเข้ามาปกครองพื้นที่[4][5] ถึงวันที่ 22 สิงหาคม ตัวเลขผู้เสียชีวิตอย่างเป็นทางการอยู่ที่ 88 คน เป็นมุสลิม 57 คน และชาวพุทธ 31 คน[6] ประเมินว่ามีประชาชน 90,000 คนพลัดถิ่นจากความรุนแรงดังกล่าว[7][8] มีบ้านเรือนถูกเผาราว 2,528 หลัง จำนวนนี้ 1,336 หลังเป็นของชาวโรฮิงยา และ 1,192 หลังเป็นของชาวยะไข่[9] กองทัพและตำวจพม่าถูกกล่าวหาว่ามีบทบาทนำในการจับกุมหมู่และความรุนแรงตามอำเภอใจต่อชาวโรฮิงยา[10]

การต่อสู้เกิดขึ้นอีกครั้งในเดือนตุลาคม เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 64 คน และบ้านเรือนหลายพันหลังถูกทำลาย

อ้างอิง

  1. "Burma admits Rakhine destruction". BBC News. 27 October 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 October 2012. สืบค้นเมื่อ 27 October 2012.
  2. Peter Beaumont (27 October 2012). "Burma's leader admits deadly attacks on Muslims". The Guardian. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 October 2012. สืบค้นเมื่อ 27 October 2012.
  3. "Four killed as Rohingya Muslims riot in Myanmar: government". Reuters. 8 June 2012. สืบค้นเมื่อ 9 June 2012.
  4. Linn Htet (11 June 2012). "အေရးေပၚအေျခအေန ေၾကညာခ်က္ ႏုိင္ငံေရးသမားမ်ား ေထာက္ခံ". The Irrawaddy. สืบค้นเมื่อ 11 June 2012.
  5. Keane, Fergal (11 June 2012). "Old tensions bubble in Burma". BBC News Online. สืบค้นเมื่อ 11 June 2012.
  6. "Press Release". Government of the Republic of the Union of Myanmar Ministry of Foreign Affairs. 21 August 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 27 October 2012. สืบค้นเมื่อ 27 October 2012.
  7. "Burma's ethnic clashes leave 90,000 in need of food, says UN". Toronto Star. 19 June 2012. สืบค้นเมื่อ 16 July 2012.
  8. "Burma unrest: Rakhine violence 'displaces 30,000'". BBC News. 14 June 2012. สืบค้นเมื่อ 14 June 2012.
  9. "Both ethnic groups suffered in Myanmar clashes". Associated Press. 15 Jun 2012. สืบค้นเมื่อ 16 June 2012.
  10. Hindstorm, Hanna (28 June 2012). "Burmese authorities targeting Rohingyas, UK parliament told". Democratic Voice of Burma. สืบค้นเมื่อ 9 July 2012.