ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปรียญธรรม 5 ประโยค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
M-Bot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำอัตโนมัติ (-[[ภาพ: +[[ไฟล์:) ด้วยบอต
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
=== วิชาแปลไทยเป็นมคธ (วิชาแต่ง) ===
=== วิชาแปลไทยเป็นมคธ (วิชาแต่ง) ===


[[ไฟล์:ธมฺมปทฏฐกถา ตติโย ภาโค.jpg|150px|thumb|ปกหนังสืออันเป็นที่คุ้นตาของนักเรียนบาลี '''"ธมฺมปทฏฐกถา"''' หนึ่งในหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทยในชั้นประโยค ๑-๒ และ วิชาแต่งไทยเป็นมคธในชั้น เปรียญธรรม ๕ ประโยค ''จัดพิมพ์โดยคณะกรรมการแผนกตำรา [[มหามกุฏราชวิทยาลัย]]'']]
[[ไฟล์:ธมฺมปทฏฐกถา ตติโย ภาโค.jpg|150px|thumb|ปกหนังสืออันเป็นที่คุ้นตาของนักเรียนบาลี '''"ธมฺมปทฏ{{ฐ}}กถา"''' หนึ่งในหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทยในชั้นประโยค ๑-๒ และ วิชาแต่งไทยเป็นมคธในชั้น เปรียญธรรม ๕ ประโยค ''จัดพิมพ์โดยคณะกรรมการแผนกตำรา [[มหามกุฏราชวิทยาลัย]]'']]


วิชาแปลไทยเป็นมคธในชั้น ป.ธ. ๕ นี้ ใช้หนังสือ อรรถกถาธรรมบทแปล ภาคที่ ๒ - ๔
วิชาแปลไทยเป็นมคธในชั้น ป.ธ. ๕ นี้ ใช้หนังสือ อรรถกถาธรรมบทแปล ภาคที่ ๒ - ๔
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
* อรรถกถาธรรมบทแปล (จตุตฺโถ ภาโค - ภาคสี่)
* อรรถกถาธรรมบทแปล (จตุตฺโถ ภาโค - ภาคสี่)


ในชั้นนี้ผู้เรียนต้องศึกษาวิธีการแต่ง[[ภาษาไทย]]เป็น[[ภาษาบาลี]]โดยใช้หนังสือ '''อรรถกถาธรรมบทแปล ภาค ๒ -๔''' (ธัมมปทัฏฐกถา ภาษาไทย) เพื่อฝึกแปลเป็น[[ภาษามคธ]] เหมือนกับชั้นประโยค ป.ธ. ๔ แต่'''ในชั้นนี้กรรมการจะออกข้อสอบให้ผู้สอบแต่ง คาถาบาลี ที่ปรากฏในหลักสูตรด้วย'''
ในชั้นนี้ผู้เรียนต้องศึกษาวิธีการแต่ง[[ภาษาไทย]]เป็น[[ภาษาบาลี]]โดยใช้หนังสือ '''อรรถกถาธรรมบทแปล ภาค ๒ -๔''' (ธัมมปทัฏ{{ฐ}}กถา ภาษาไทย) เพื่อฝึกแปลเป็น[[ภาษามคธ]] เหมือนกับชั้นประโยค ป.ธ. ๔ แต่'''ในชั้นนี้กรรมการจะออกข้อสอบให้ผู้สอบแต่ง คาถาบาลี ที่ปรากฏในหลักสูตรด้วย'''


== หลักเกณฑ์ของผู้มีสิทธิ์สอบไล่ในชั้นเปรียญธรรม ๕ ประโยค ==
== หลักเกณฑ์ของผู้มีสิทธิ์สอบไล่ในชั้นเปรียญธรรม ๕ ประโยค ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:35, 22 ตุลาคม 2555

ไฟล์:มงฺคลตฺถทีปนี ทุติโย ภาโค.jpg
ในภาพ:ปกหนังสือมงคลัตถทีปนี จัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย หลักสูตรเปรียญธรรม ๕ ประโยค

เปรียญธรรม ๕ ประโยค (ชื่อย่อ ป.ธ.๕) เป็นระดับชั้นการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย เรียกผู้สอบผ่านได้ในชั้นนี้ว่า เปรียญโท

ผู้สอบได้ในชั้นนี้สามารถนำใบประกาศนียบัตรมาขอใบเทียบวุฒิการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจากกระทรวงศึกษาธิการได้ ถ้าผู้ที่สอบได้ชั้นนี้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นครูสอน 1 ปี และทำการสอนมาแล้วไม่ต่ำกว่า 300 ชั่วโมง[1]

หลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรมบาลีในชั้นเปรียญธรรม ๕ ประโยค

ในชั้นนี้ แม่กองบาลีสนามหลวง กำหนดวิชาในการศึกษาไว้ ๒ วิชา คือ

วิชาแปลมคธเป็นไทย (วิชาแปล)

  • วิชาแปลมคธเป็นไทย ใช้หนังสือ มงฺคลตฺถทีปนี (ทุติโย ภาโค - ภาคสอง) [2]

วิชาแปลไทยเป็นมคธ (วิชาแต่ง)

ปกหนังสืออันเป็นที่คุ้นตาของนักเรียนบาลี "ธมฺมปทฏฐกถา" หนึ่งในหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทยในชั้นประโยค ๑-๒ และ วิชาแต่งไทยเป็นมคธในชั้น เปรียญธรรม ๕ ประโยค จัดพิมพ์โดยคณะกรรมการแผนกตำรา มหามกุฏราชวิทยาลัย

วิชาแปลไทยเป็นมคธในชั้น ป.ธ. ๕ นี้ ใช้หนังสือ อรรถกถาธรรมบทแปล ภาคที่ ๒ - ๔

  • อรรถกถาธรรมบทแปล (ทุติโย ภาโค - ภาคสอง)
  • อรรถกถาธรรมบทแปล (ตติโย ภาโค - ภาคสาม)
  • อรรถกถาธรรมบทแปล (จตุตฺโถ ภาโค - ภาคสี่)

ในชั้นนี้ผู้เรียนต้องศึกษาวิธีการแต่งภาษาไทยเป็นภาษาบาลีโดยใช้หนังสือ อรรถกถาธรรมบทแปล ภาค ๒ -๔ (ธัมมปทัฏฐกถา ภาษาไทย) เพื่อฝึกแปลเป็นภาษามคธ เหมือนกับชั้นประโยค ป.ธ. ๔ แต่ในชั้นนี้กรรมการจะออกข้อสอบให้ผู้สอบแต่ง คาถาบาลี ที่ปรากฏในหลักสูตรด้วย

หลักเกณฑ์ของผู้มีสิทธิ์สอบไล่ในชั้นเปรียญธรรม ๕ ประโยค

ระดับเปรียญธรรม ๕ ประโยค เรียกว่า เปรียญโท คือ ผู้ที่จะมีสิทธิสอบเปรียญธรรม ๕ ประโยค จะต้องสอบได้เปรียญธรรม ๔ ประโยค และนักธรรมชั้นโทก่อน

ผู้สอบไล่ได้เปรียญธรรม ๕ ประโยค

พระภิกษุสามเณรผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้จะได้รับประกาศนียบัตร เลขพัดเปรียญ มีสมณศักดิ์อันดับในงานพระราชพิธี - รัฐพิธี เหนือกว่า พระครูปลัดของพระราชาคณะ ชั้นเทพ [3]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. พระราชบัญญัติกำหนดวิทยฐานะผู้สำเร็จวิชาการพระพุทธศาสนา พ.ศ. ๒๕๒๗
  2. หนังสือหมวดเปรียญธรรม ประโยค ๑ ถึง ๙
  3. ลำดับพัดยศสมณศักดิ์ ฐานานุกรม เปรียญในงานพระราชพิธี - รัฐพิธี

แหล่งข้อมูลอื่น


หลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลี
สนามหลวงแผนกบาลี เปรียญธรรม
เปรียญตรี
เปรียญโท
เปรียญเอก