ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กำลังกึ่งทหาร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
cleanup
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''กำลังกึ่งทหาร''' ({{lang-en|Paramilitary}}) หมายถึง กำลังซึ่งมีหน้าที่และการจัดคล้ายกับของทหารอาชีพ แต่ไม่ถูกพิจารณาว่าเป็นส่วนหนึ่งของ[[กองทัพ]]อย่างเป็นทางการของ[[รัฐ]]<ref name=Reference-OED-paramilitary>{{cite book| chapter=paramilitary| title=[[Oxford English Dictionary]]| publisher=[[Oxford University Press]]| edition=3rd| date=June 2005; online version June 2011| url=http://oed.com/search?searchType=dictionary&q=paramilitary| accessdate=2011-09-13| quote=Designating, of, or relating to a force or unit whose function and organization are analogous or ancillary to those of a professional military force, but which is not regarded as having professional or legitimate status.}}</ref> ภายใต้กฎหมายความขัดแย้งด้วยอาวุธ รัฐอาจรวมองค์การกำลังกึ่งทหารหรือหน่วยงานติดอาวุธซึ่งได้รับมอบหมายหน้าที่ตำรวจเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพด้วย คู่ขัดแย้งอื่นจำต้องได้รับการบอกกล่าวด้วย<ref> http://www.icrc.org/customary-ihl/eng/docs/v2_cou_nl_rule4_sectionb</ref>
'''กำลังกึ่งทหาร''' ({{lang-en|Paramilitary}}) หมายถึง กองกำลังซึ่งมีหน้าที่และการจัดรูปแบบคล้ายคลึงกับกองกำลังทหารอาชีพ แต่มิได้รับการยอมรับว่ามีสถานะเป็นส่วนหนึ่งของกองกําลังทหารปกติ คำว่า "paramilitary" มาจากคำอุปสรรคใน[[ภาษากรีก]]ว่า ''para-'' (แสดงความใกล้ชิด)


ทหารรับจ้างและบริษัทความมั่นคงทางทหารเอกชนมิใช่กำลังกึ่งทหาร กฎหมายระหว่างประเทศห้ามการฝึก การเกณฑ์และการใช้กำลังทหารรับจ้าง<ref>International Convention against the Recruitment, Use, Financing and Training of Mercenaries, 4 December 1989</ref>
คำว่า "กำลังกึ่งทหาร" เป็นการใช้ความคิดเห็นในการแยกแยะ ขึ้นอยู่กับว่าอะไรที่ถูกพิจารณาว่าคล้ายคลึงกับกองกำลังทางทหาร และพิจารณาว่าอะไรเป็นสถานะที่กองกำลังควรมี ตามธรรมชาติของกองกำลังกึ่งทหารจึงมีหลากหลาย ขึ้นอยู่กับผู้พูดและบริบท ยกตัวอย่างเช่น ใน[[ไอร์แลนด์เหนือ]] กำลังกึ่งทหาร หมายความถึง กลุ่มผิดกฎหมายทุกกลุ่มซึ่งมีวัตถุประสงค์ทางการเมือง แต่ใน[[โคลัมเบีย]] กำลังกึ่งทหาร หมายความถึงแต่กองกำลังติดอาวุธฝ่ายขวาถูกกฎหมาย ซึ่งมิได้ต่อสู้กับรัฐบาล ในขณะที่กลุ่มติดอาวุธผิดกฎหมายฝ่ายซ้าย ซึ่งก่อการกบฏต่อรัฐบาล จะถูกพิจารณาว่าเป็นกองโจร<ref>
[http://news.bbc.co.uk/2/hi/americas/1738963.stm BBC News website: Colombian civil conflict] </ref>


== ตัวอย่างของกําลังกึ่งทหาร ==
== ตัวอย่างของกําลังกึ่งทหาร ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:29, 14 ตุลาคม 2555

กำลังกึ่งทหาร (อังกฤษ: Paramilitary) หมายถึง กำลังซึ่งมีหน้าที่และการจัดคล้ายกับของทหารอาชีพ แต่ไม่ถูกพิจารณาว่าเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพอย่างเป็นทางการของรัฐ[1] ภายใต้กฎหมายความขัดแย้งด้วยอาวุธ รัฐอาจรวมองค์การกำลังกึ่งทหารหรือหน่วยงานติดอาวุธซึ่งได้รับมอบหมายหน้าที่ตำรวจเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพด้วย คู่ขัดแย้งอื่นจำต้องได้รับการบอกกล่าวด้วย[2]

ทหารรับจ้างและบริษัทความมั่นคงทางทหารเอกชนมิใช่กำลังกึ่งทหาร กฎหมายระหว่างประเทศห้ามการฝึก การเกณฑ์และการใช้กำลังทหารรับจ้าง[3]

ตัวอย่างของกําลังกึ่งทหาร

  • ตํารวจ
  • ตํารวจตระเวนชายแดน
  • หน่วยดับเพลิง
  • กองกําลังความมั่นคงภายใน เป็นหน่วยรักษาความั่นคงภายในกระทรวง หรืองค์กรนั้นๆ ที่ไม่ใช่กองทัพทหาร
  • กําลังทหารพลเรือน
  • กลุ่มผู้ก่อความไม่สงบ, กองโจร ซึ่งบางประเทศอาจพิจารณาว่าเป็นผู้ก่อการร้าย
  • กองกําลังติดอาวุธของหน่วยงานข่าวกรองประจําชาติ เช่น CIA, FBI, SAS
  • กองกําลังทหารส่วนตัวเฉพาะบุคคล เช่น หน่วย เอส เอส ของอดอลฟ์ ฮิตเลอร์
  • กองกําลังทหารเอกชน องค์กรเอกชน หรือบริษัทเอกชน ที่ให้การบริการทางทหาร (PMC)
  • ทหารรับจ้าง (mercenary)

อ้างอิง

  1. "paramilitary". [[Oxford English Dictionary]] (3rd ed.). Oxford University Press. June 2005; online version June 2011. สืบค้นเมื่อ 2011-09-13. Designating, of, or relating to a force or unit whose function and organization are analogous or ancillary to those of a professional military force, but which is not regarded as having professional or legitimate status. {{cite book}}: URL–wikilink ขัดแย้งกัน (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  2. http://www.icrc.org/customary-ihl/eng/docs/v2_cou_nl_rule4_sectionb
  3. International Convention against the Recruitment, Use, Financing and Training of Mercenaries, 4 December 1989