ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นนอก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: es:Hematoma subdural
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
MeshID = D006408 |
MeshID = D006408 |
}}
}}
'''เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นนอก''' ({{lang-en|subdural hematoma, subdural haematoma, subdural hemorrhage, SDH}}) เป็น[[ภาวะตกเลือด]]อย่างหนึ่งทำให้มี[[ก้อนเลือด]]อยู่ใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นนอกสุดระหว่าง[[เยื่อดูรา]]กับ[[เยื่ออะแร็กนอยด์]] ส่วนใหญ่เกิดจากการฉีกขาดของ[[หลอดเลือดดำบริดจิง]]ซึ่งทอดผ่าน[[ช่องว่างใต้เยื่อดูรา]] ภาวะนี้อาจทำให้เกิด[[ความดันในกะโหลกศีรษะสูง]]ได้ ซึ่งอาจทำให้เกิดอันตรายเพิ่มเติมต่อเนื้อสมง ภาวะนี้หากเกิดขึ้นเฉียบพลันมักจะเป็นอันตรายถึงชีวิต อย่างไรก็ดี หากเกิดแบบเรื้อรังและได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม มักมีพยากรณ์โรคที่ดีกว่า
'''เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นนอก''' ({{lang-en|subdural hematoma, subdural haematoma, subdural hemorrhage, SDH}}) เป็น[[ภาวะตกเลือด]]อย่างหนึ่งทำให้มี[[ก้อนเลือด]]อยู่ใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นนอกสุดระหว่าง[[เยื่อดูรา]]กับ[[เยื่ออะแร็กนอยด์]] ส่วนใหญ่เกิดจากการฉีกขาดของ[[หลอดเลือดดำบริดจิง]]ซึ่งทอดผ่าน[[ช่องว่างใต้เยื่อดูรา]] ภาวะนี้อาจทำให้เกิด[[ความดันในกะโหลกศีรษะสูง]]ได้ ซึ่งอาจทำให้เกิดอันตรายเพิ่มเติมต่อเนื้อสมอง ภาวะนี้หากเกิดขึ้นเฉียบพลันมักจะเป็นอันตรายถึงชีวิต อย่างไรก็ดี หากเกิดแบบเรื้อรังและได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม มักมีพยากรณ์โรคที่ดีกว่า
{{Cerebral hemorrhage}}
{{Cerebral hemorrhage}}
{{การบาดเจ็บของระบบประสาท}}
{{การบาดเจ็บของระบบประสาท}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:58, 30 กันยายน 2555

เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นนอก
(Subdural hematoma))
Subdural hematoma as marked by the arrow with significant midline shift
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10I62.0, P10.0, S06.5
ICD-9852.2 - traumatic; 432.1 - nontraumatic
DiseasesDB12614
MedlinePlus000713
eMedicineneuro/575
MeSHD006408

เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นนอก (อังกฤษ: subdural hematoma, subdural haematoma, subdural hemorrhage, SDH) เป็นภาวะตกเลือดอย่างหนึ่งทำให้มีก้อนเลือดอยู่ใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นนอกสุดระหว่างเยื่อดูรากับเยื่ออะแร็กนอยด์ ส่วนใหญ่เกิดจากการฉีกขาดของหลอดเลือดดำบริดจิงซึ่งทอดผ่านช่องว่างใต้เยื่อดูรา ภาวะนี้อาจทำให้เกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงได้ ซึ่งอาจทำให้เกิดอันตรายเพิ่มเติมต่อเนื้อสมอง ภาวะนี้หากเกิดขึ้นเฉียบพลันมักจะเป็นอันตรายถึงชีวิต อย่างไรก็ดี หากเกิดแบบเรื้อรังและได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม มักมีพยากรณ์โรคที่ดีกว่า