ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บัวบกโขด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธพร ส่องศรี (คุย | ส่วนร่วม)
พุทธพร ส่องศรี (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 28: บรรทัด 28:


== สรรพคุณ ==
== สรรพคุณ ==
'''หัว''' แก้ลม แก้เมื่อยขัด ปวดเมื่อยตามร่างกาย แก้ลงท้อง ช่วยย่อยอาหาร บำรุงไฟธาตุเป็นยาอายุวัฒนะ <br />
'''หัว''' แก้ลม แก้เมื่อยขัด ปวดเมื่อยตามร่างกาย แก้ลงท้อง ช่วยย่อยอาหาร บำรุงไฟธาตุเป็นยาอายุวัฒนะ ทำให้ร่างกายแข็งแรง เจริญอาหาร ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเชื้อรา ยับยั้งเชื้อมาลาเรีย เป็นพิษต่อเซลล์ บางท่านใช้เป็นยาบำรุงกำลัง แก้ปวดเมื่อยอ่อนเพลียแบบเดียวกับกวาวเครือและสบู่เลือด โดยนำมาล้างให้สะอาด ฝานบาง ๆ แล้วตากแดดให้แห้ง นำมาบดหรือตำให้เป็นผงละเอียด แล้วผสมน้ำผึ้งปั้นเป็นลูกกลอนขนาดปลายนิ้วก้อย รับประทานก่อนอาหาร เช้า-เย็น ครั้งละ 2-3 เม็ด
ทำให้ร่างกายแข็งแรง เจริญอาหาร ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเชื้อรา ยับยั้งเชื้อมาลาเรีย เป็นพิษต่อเซลล์ บางท่านใช้เป็นยาบำรุงกำลัง <br />
แก้ปวดเมื่อยอ่อนเพลียแบบเดียวกับกวาวเครือและสบู่เลือด <br />
โดยนำมาล้างให้สะอาด ฝานบาง ๆ แล้วตากแดดให้แห้ง นำมาบดหรือตำให้เป็นผงละเอียด แล้วผสมน้ำผึ้งปั้นเป็นลูกกลอนขนาดปลายนิ้วก้อย <br />
รับประทานก่อนอาหาร เช้า-เย็น ครั้งละ 2-3 เม็ด
<ref>http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&t=5821&start=80</ref>
<ref>http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&t=5821&start=80</ref>

== แหล่งที่พบ ==
== แหล่งที่พบ ==
มักขึ้นมากแถบภูเขาแถวภาคกลางและอีสาน
มักขึ้นมากแถบภูเขาแถวภาคกลางและอีสาน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:06, 23 กันยายน 2555

บัวบกหัว
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Ranunculales
วงศ์: Menispermaceae
สกุล: Stephania
สปีชีส์:
ชื่อทวินาม
Stephania erecta Craib



[1] บัวบกหัว หรือ บัวบก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Stephania erecta Craib) วงศ์ Menispermaceae ต้นบัวบก หรือ บัวบกหัว เป็นพืชสกุลเดียวกันกับสบู่เลือด
แต่ไม่เลื้อยเหมือนสบู่เลือด (ไม่ใช่บัวบกที่นำมาคั้นน้ำ แก้ช้ำใน) ชื่อสามัญว่า บัวกืด บัวเด๊อ [2]

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

บัวบกหัว เป็นไม้ล้มลุกมีหัวใต้ดิน มีก้านโผล่พ้นดินไม่สูงนัก

  • ใบ คล้ายใบบัวบก แต่ใบแข็ง ใบรูปเกือบกลม บางครั้งมีขนขนาดเล็กที่ใบ
  • ดอกเพศผู้เป็นช่อติดที่ซอกใบ ก้านช่อดอกเรียว กลีบรองกลีบย่อย 4 หรือ 5 กลีบ สีเหลือง กลีบดอกเชื่อมรวมกับเกสร ไม่มีก้านดอก หรือก้านสั้นมาก
  • ดอกเพศเมียไม่ปรากฎลักษณะ ผลมีเนื้อรูปเกือบกลม เมล็ด เป็นเมล็ดแบบมีเปลือกแข้ง
  • หัว มีทั้งขนาดเล็กและใหญ่ มีรสขมมัน

สรรพคุณ

หัว แก้ลม แก้เมื่อยขัด ปวดเมื่อยตามร่างกาย แก้ลงท้อง ช่วยย่อยอาหาร บำรุงไฟธาตุเป็นยาอายุวัฒนะ ทำให้ร่างกายแข็งแรง เจริญอาหาร ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเชื้อรา ยับยั้งเชื้อมาลาเรีย เป็นพิษต่อเซลล์ บางท่านใช้เป็นยาบำรุงกำลัง แก้ปวดเมื่อยอ่อนเพลียแบบเดียวกับกวาวเครือและสบู่เลือด โดยนำมาล้างให้สะอาด ฝานบาง ๆ แล้วตากแดดให้แห้ง นำมาบดหรือตำให้เป็นผงละเอียด แล้วผสมน้ำผึ้งปั้นเป็นลูกกลอนขนาดปลายนิ้วก้อย รับประทานก่อนอาหาร เช้า-เย็น ครั้งละ 2-3 เม็ด [3]

แหล่งที่พบ

มักขึ้นมากแถบภูเขาแถวภาคกลางและอีสาน

อ้างอิง