ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแปลรหัส (พันธุศาสตร์)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
autoCategory
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink: เพปไทด์
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:translation.gif|thumb|right|300px|ทรานสเลชันของโปรตีนที่หลั่งเข้าสู่เอนโดพลาสมิก เรติคิวลัม]]
[[ไฟล์:translation.gif|thumb|right|300px|ทรานสเลชันของโปรตีนที่หลั่งเข้าสู่เอนโดพลาสมิก เรติคิวลัม]]
'''ทรานสเลชัน''' ({{lang-en|Translation}}) เป็นขั้นตอนแรกของ[[การสังเคราะห์โปรตีน]] ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[การแสดงอออกของยีน]] ทรานสเลชันเป็นการผลิตโปรตีนโดยอ่านรหัสจาก [[mRNA]] ที่ได้จาก[[ทรานสคริบชัน]] ทรานสเลชันเกิดใน[[ไซโตพลาสซึม]]ซึ่งมีไรโบโซมอยู่ ไรโบโซมนั้นประกอบด้วยหน่วยย่อยขนาดใหญ่และขนาดเล็ก ซึ่งจะมาประกบกันเมื่อมี mRNA ทรานสเลชันนี้จะสร้าง[[โพลีเปบไทด์]]จากการอ่าน[[รหัสพันธุกรรม]]ที่เป็นลำดับเบสบน mRNA รหัสพันธุกรรมจะเป็นตัวบอกลำดับของ[[กรดอะมิโน]]ในโปรตีน ส่วน RNA ชนิดอื่น เช่น [[rRNA]], [[tRNA]], [[snRNA]] ไม่เกี่ยวข้องกับการกำหนดกรดอะมิโน
'''ทรานสเลชัน''' ({{lang-en|Translation}}) เป็นขั้นตอนแรกของ[[การสังเคราะห์โปรตีน]] ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[การแสดงอออกของยีน]] ทรานสเลชันเป็นการผลิตโปรตีนโดยอ่านรหัสจาก [[mRNA]] ที่ได้จาก[[ทรานสคริบชัน]] ทรานสเลชันเกิดใน[[ไซโตพลาสซึม]]ซึ่งมีไรโบโซมอยู่ ไรโบโซมนั้นประกอบด้วยหน่วยย่อยขนาดใหญ่และขนาดเล็ก ซึ่งจะมาประกบกันเมื่อมี mRNA ทรานสเลชันนี้จะสร้าง[[พอลิเพปไทด์]]จากการอ่าน[[รหัสพันธุกรรม]]ที่เป็นลำดับเบสบน mRNA รหัสพันธุกรรมจะเป็นตัวบอกลำดับของ[[กรดอะมิโน]]ในโปรตีน ส่วน RNA ชนิดอื่น เช่น [[rRNA]], [[tRNA]], [[snRNA]] ไม่เกี่ยวข้องกับการกำหนดกรดอะมิโน


ทรานสเลชันมี 4 ขั้นตอนคือ การกระตุ้น การเริ่มต้น การต่อเนื่องและการสิ้นสุด กรดอะมิโนจะถูกนำมายัง[[ไรโบโซม]]จากนั้นจึงต่อกันเป็นโปรตีน
ทรานสเลชันมี 4 ขั้นตอนคือ การกระตุ้น การเริ่มต้น การต่อเนื่องและการสิ้นสุด กรดอะมิโนจะถูกนำมายัง[[ไรโบโซม]]จากนั้นจึงต่อกันเป็นโปรตีน
ขั้นตอนการกระตุ้น กรดอะมิโนจะเกิด[[พันธะโควาเลนต์]]กัน tRNA ที่เป็นคู่กัน กรดอะมิโนจะใช้หมู่คาร์บอกซิลจับกับหมู่ 3' OH ของ tRNA ด้วย[[พันธะเอสเทอร์]]
ขั้นตอนการกระตุ้น กรดอะมิโนจะเกิด[[พันธะโควาเลนต์]]กัน tRNA ที่เป็นคู่กัน กรดอะมิโนจะใช้หมู่คาร์บอกซิลจับกับหมู่ 3' OH ของ tRNA ด้วย[[พันธะเอสเทอร์]]


ขั้นตอนการเริ่มต้น เริ่มจากหน่วยเล็กของไรโบโซมจับกับปลาย 5' ของ mRNA โดยมี initiation factors (IF) เป็นผู้ช่วย การสิ้นสุดของการสร้างสายโพลีเปบไทด์เกิดขึ้นเมื่อด้าน A ของไรโบโซมเป็น[[รหัสพันธุกรรมหยุด]] (UAA, UAG, UGA) ซึ่งจะไม่มี tRNA เข้ามา แต่ releasing factor จะเข้ามาทำให้ปล่อยสายโพลีเปบไทด์ออกไป ปลาย 5' ของ mRNA ไปเป็นปลาย N ของโพลีเปบไทด์ และขั้นตอนทรานสเลชันเริ่มจาก N->C
ขั้นตอนการเริ่มต้น เริ่มจากหน่วยเล็กของไรโบโซมจับกับปลาย 5' ของ mRNA โดยมี initiation factors (IF) เป็นผู้ช่วย การสิ้นสุดของการสร้างสายพอลิเพปไทด์เกิดขึ้นเมื่อด้าน A ของไรโบโซมเป็น[[รหัสพันธุกรรมหยุด]] (UAA, UAG, UGA) ซึ่งจะไม่มี tRNA เข้ามา แต่ releasing factor จะเข้ามาทำให้ปล่อยสายพอลิเพปไทด์ออกไป ปลาย 5' ของ mRNA ไปเป็นปลาย N ของพอลิเพปไทด์ และขั้นตอนทรานสเลชันเริ่มจาก N->C


[[ยาปฏิชีวนะ]]จำนวนหนึ่งออกฤทธิ์ยับยั้งทรานสเลชัน เช่น anisomycin, cycloheximide, chloramphenicol, tetracycline, streptomycin, erythromycin และpuromycin ไรโบโซมของ[[โปรคาริโอต]]มีโครงสร้างต่างจากของ[[ยูคาริโอต]] ทำให้ยาปฏิชีวนะจำเพาะเฉพาะ[[แบคทีเรีย]]ไม่ทำลายยูคาริโอตที่เป็นเจ้าบ้าน
[[ยาปฏิชีวนะ]]จำนวนหนึ่งออกฤทธิ์ยับยั้งทรานสเลชัน เช่น anisomycin, cycloheximide, chloramphenicol, tetracycline, streptomycin, erythromycin และpuromycin ไรโบโซมของ[[โปรคาริโอต]]มีโครงสร้างต่างจากของ[[ยูคาริโอต]] ทำให้ยาปฏิชีวนะจำเพาะเฉพาะ[[แบคทีเรีย]]ไม่ทำลายยูคาริโอตที่เป็นเจ้าบ้าน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:03, 10 กันยายน 2555

ทรานสเลชันของโปรตีนที่หลั่งเข้าสู่เอนโดพลาสมิก เรติคิวลัม

ทรานสเลชัน (อังกฤษ: Translation) เป็นขั้นตอนแรกของการสังเคราะห์โปรตีน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการแสดงอออกของยีน ทรานสเลชันเป็นการผลิตโปรตีนโดยอ่านรหัสจาก mRNA ที่ได้จากทรานสคริบชัน ทรานสเลชันเกิดในไซโตพลาสซึมซึ่งมีไรโบโซมอยู่ ไรโบโซมนั้นประกอบด้วยหน่วยย่อยขนาดใหญ่และขนาดเล็ก ซึ่งจะมาประกบกันเมื่อมี mRNA ทรานสเลชันนี้จะสร้างพอลิเพปไทด์จากการอ่านรหัสพันธุกรรมที่เป็นลำดับเบสบน mRNA รหัสพันธุกรรมจะเป็นตัวบอกลำดับของกรดอะมิโนในโปรตีน ส่วน RNA ชนิดอื่น เช่น rRNA, tRNA, snRNA ไม่เกี่ยวข้องกับการกำหนดกรดอะมิโน

ทรานสเลชันมี 4 ขั้นตอนคือ การกระตุ้น การเริ่มต้น การต่อเนื่องและการสิ้นสุด กรดอะมิโนจะถูกนำมายังไรโบโซมจากนั้นจึงต่อกันเป็นโปรตีน ขั้นตอนการกระตุ้น กรดอะมิโนจะเกิดพันธะโควาเลนต์กัน tRNA ที่เป็นคู่กัน กรดอะมิโนจะใช้หมู่คาร์บอกซิลจับกับหมู่ 3' OH ของ tRNA ด้วยพันธะเอสเทอร์

ขั้นตอนการเริ่มต้น เริ่มจากหน่วยเล็กของไรโบโซมจับกับปลาย 5' ของ mRNA โดยมี initiation factors (IF) เป็นผู้ช่วย การสิ้นสุดของการสร้างสายพอลิเพปไทด์เกิดขึ้นเมื่อด้าน A ของไรโบโซมเป็นรหัสพันธุกรรมหยุด (UAA, UAG, UGA) ซึ่งจะไม่มี tRNA เข้ามา แต่ releasing factor จะเข้ามาทำให้ปล่อยสายพอลิเพปไทด์ออกไป ปลาย 5' ของ mRNA ไปเป็นปลาย N ของพอลิเพปไทด์ และขั้นตอนทรานสเลชันเริ่มจาก N->C

ยาปฏิชีวนะจำนวนหนึ่งออกฤทธิ์ยับยั้งทรานสเลชัน เช่น anisomycin, cycloheximide, chloramphenicol, tetracycline, streptomycin, erythromycin และpuromycin ไรโบโซมของโปรคาริโอตมีโครงสร้างต่างจากของยูคาริโอต ทำให้ยาปฏิชีวนะจำเพาะเฉพาะแบคทีเรียไม่ทำลายยูคาริโอตที่เป็นเจ้าบ้าน