ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นูน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: zh:Nun
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
[[tl:Nun]]
[[tl:Nun]]
[[wuu:ن]]
[[wuu:ن]]
[[zh:Nun]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:11, 31 สิงหาคม 2555

นูน
ن
อักษรต่างรูป
ต้นคำ กลางคำ ท้ายคำ
ن‍ ‍ن‍ ‍ن
อักษรอาหรับ
ه
ประวัติอักษรอาหรับ
เครื่องหมายการออกเสียง
ฟัตฮะฮ์ · กัสเราะฮ์ · ء ·ฎ็อมมะฮ์
เลขอาหรับ

นูน (อังกฤษ: Nun) เป็นอักษรตัวที่ 14 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรูנ‎ และอักษรอาหรับ ﻥ‎ และเป็นอักษรตัวที่สามของอักษรทานะ (ނ)- มีชื่อว่านูนุ แทนด้วยสัทอักษร: [n] อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก (Ν), อักษรอีทรัสคัน ̍, อักษรละติน N, และอักษรซีริลลิก Н

คาดว่านุนมาจากอักษรภาพรูปงู (คำว่างูในภาษาฮีบรู, nachash เริ่มด้วยนุน และคำว่างูในภาษาอราเมอิกคือ nun) หรือปลาไหล แต่บางกลุ่มเชื่อว่ามาจากไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์รูปปลาในน้ำ (ในภาษาอาหรับ, nūn หมายถึงปลาหรือวาฬ). อักษรฟินิเชียตัวนี้ชื่อ nūn "ปลา" แต่รูปร่างของอักษรเหมือนจะมาจากอักษรคานาอันไนต์ naḥš "งู", ที่มาจากไฮโรกลิฟิกรูปงู Naḥš ในวรรณกรรมภาษาอาหรับสมัยใหม่หมายถึง "โชคร้าย" อักษรตัวนี้ในอักษรเอธิโอปิกและภาษากลุ่มเซมิติกในเอธิโอเปียใช้ nehas, หมายถึงทองเหลือง