ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสลายให้อนุภาคแอลฟา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Escarbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: nl:Alfastraling
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: az:Alfa-dağılması; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ฟิสิกส์นิวเคลียร์}}
{{ฟิสิกส์นิวเคลียร์}}
[[Image:Alpha Decay.svg|thumb|left|การสลายให้อนุภาคแอลฟา]]'''การสลายให้อนุภาคแอลฟา''' ({{lang-en|Alpha decay}}) เป็นรูปแบบหนึ่งของ[[การสลายตัวของสารกัมมันตรังสี]]ซึ่ง[[นิวเคลียสอะตอม]]จะปลดปล่อย[[อนุภาคแอลฟา]]ออกมา ดังนั้นจึงเปลี่ยนสภาพ (หรือ 'สลาย') อะตอมโดยสูญเสีย[[เลขมวล]] 4 และ[[เลขอะตอม]] 2 เช่น:
[[ไฟล์:Alpha Decay.svg|thumb|left|การสลายให้อนุภาคแอลฟา]]'''การสลายให้อนุภาคแอลฟา''' ({{lang-en|Alpha decay}}) เป็นรูปแบบหนึ่งของ[[การสลายตัวของสารกัมมันตรังสี]]ซึ่ง[[นิวเคลียสอะตอม]]จะปลดปล่อย[[อนุภาคแอลฟา]]ออกมา ดังนั้นจึงเปลี่ยนสภาพ (หรือ 'สลาย') อะตอมโดยสูญเสีย[[เลขมวล]] 4 และ[[เลขอะตอม]] 2 เช่น:


<math>
<math>
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
*[[การสลายให้อนุภาคบีตา]]
*[[การสลายให้อนุภาคบีตา]]


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
{{reflist}}
{{reflist}}
*[http://www.ct.infn.it/~rivel/Didat/SilDet.pdf Alpha emitters by increasing energy (Appendix 1)]
*[http://www.ct.infn.it/~rivel/Didat/SilDet.pdf Alpha emitters by increasing energy (Appendix 1)]


== แหล่งข้อมูลอื่น==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [[Image:Ndslivechart.png]] '''[http://www-nds.iaea.org/livechart The LIVEChart of Nuclides - IAEA ]''' with filter on alpha decay, in '''[http://www-nds.iaea.org/livechart Java ]''' or '''[http://www-nds.iaea.org/relnsd/vcharthtml/VChartHTML.html HTML]'''
* [[ไฟล์:Ndslivechart.png]] '''[http://www-nds.iaea.org/livechart The LIVEChart of Nuclides - IAEA ]''' with filter on alpha decay, in '''[http://www-nds.iaea.org/livechart Java ]''' or '''[http://www-nds.iaea.org/relnsd/vcharthtml/VChartHTML.html HTML]'''


{{โครงฟิสิกส์}}
{{โครงฟิสิกส์}}
บรรทัด 40: บรรทัด 40:
[[af:Alfaverval]]
[[af:Alfaverval]]
[[ar:تحلل ألفا]]
[[ar:تحلل ألفا]]
[[az:Alfa-dağılması]]
[[bg:Алфа разпад]]
[[bg:Алфа разпад]]
[[ca:Desintegració alfa]]
[[ca:Desintegració alfa]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:56, 28 สิงหาคม 2555

การสลายให้กัมมันตรังสี
การสลายให้กัมมันตรังสี
การแบ่งแยกนิวเคลียสฟิชชัน
การสลายให้อนุภาคแอลฟา

การสลายให้อนุภาคแอลฟา (อังกฤษ: Alpha decay) เป็นรูปแบบหนึ่งของการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีซึ่งนิวเคลียสอะตอมจะปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา ดังนั้นจึงเปลี่ยนสภาพ (หรือ 'สลาย') อะตอมโดยสูญเสียเลขมวล 4 และเลขอะตอม 2 เช่น:

[1]

หรือเขียนเป็น:

อนุภาคแอลฟาคล้ายกับนิวเคลียสฮีเลียม-4 ที่มีเลขมวลและเลขอะตอมเท่ากัน

การสลายให้อนุภาคแอลฟาเหมือนกับการสลายให้กลุ่มอนุภาคอื่นๆเป็นกระบวนการ quantum tunneling พื้นฐาน การสลายให้อนุภาคแอลฟาไม่เหมือนกับการสลายให้อนุภาคบีตา การสลายให้อนุภาคแอลฟาถูกควบคุมโดยปฏิกิริยาต่อกันและกันระหว่างแรงนิวเคลียร์และแรงแม่เหล็กไฟฟ้า

การสลายให้อนุภาคแอลฟาเป็นรูปแบบของการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีพบในนิวไคลด์ที่มีน้ำหนักมากเท่านั้น ตัวปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาที่เบาที่สุดคือไอโซโทปที่เบาที่สุด (เลขมวล 106–110) ของเทลลูเรียม (ธาตุที่ 52)

เพราะมวลขนาดใหญ่ มีประจุไฟฟ้า +2 และอัตราความเร็วต่ำ เมื่อเทียบกับอนุภาคอื่นๆ อนุภาคแอลฟามักจะมีปฏิกิริยากับอะตอมอื่นๆและสูญเสียพลังงานของมันไป ดังนั้นการเคลื่อนตัวไปข้างหน้าของมันจะถูกหยุดในสองถึงสามเซนติเมตรของบรรยากาศของโลก

ฮีเลียมส่วนมากบนโลก (ประมาณ 99%) เป็นผลมาจากการสลายให้อนุภาคแอลฟาของแร่ที่ทับถมกันอยู่ใต้ดิน แร่ที่ประกอบไปด้วยยูเรเนียมหรือทอเรียม ฮีเลียมถูกนำขึ้นสู่ผิวโลกโดยเป็นผลิตภัณฑ์ที่เหลือของการผลิตก๊าซธรรมชาติ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Suchocki, John. Conceptual Chemistry, 2007. Page 119.

แหล่งข้อมูลอื่น