ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เส้นศูนย์สูตร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต แก้ไข: fur:Ecuatôr
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:World map with equator.svg|thumb|300px|เส้นศูนย์สูตรบนแผนที่โลก]]
[[ไฟล์:World map with equator.svg|thumb|300px|เส้นศูนย์สูตรบนแผนที่โลก]]
ในทาง[[ภูมิศาสตร์]] '''เส้นศูนย์สูตร''' คือเส้นสมมุติรอบ[[ดาวเคราะห์]] มีระยะห่างจากขั้วเหนือกับขั้วใต้เท่า ๆ กัน และตั้งฉากกับแกนหมุนของดาวเคราะห์ เส้นศูนย์สูตรแบ่งดาวเคราะห์ออกเป็นซีกเหนือและซีกใต้ มี[[ละติจูด]]เท่ากับ 0 องศา ผู้สังเกตที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตร มีระยะเวลาของกลางวันกับกลางคืนยาวนานเกือบเท่ากันตลอดทั้งปี และเห็น[[ดวงอาทิตย์]]ผ่าน[[จุดเหนือศีรษะ]]ในเวลาเที่ยงของวัน[[วิษุวัต]]
ในทาง[[ภูมิศาสตร์]] '''เส้นศูนย์สูตร''' ({{lang-en|Equator}}) คือเส้นสมมุติรอบ[[ดาวเคราะห์]] มีระยะห่างจากขั้วเหนือกับขั้วใต้เท่า ๆ กัน และตั้งฉากกับแกนหมุนของดาวเคราะห์ เส้นศูนย์สูตรแบ่งดาวเคราะห์ออกเป็นซีกเหนือและซีกใต้ มี[[ละติจูด]]เท่ากับ 0 องศา ผู้สังเกตที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตร มีระยะเวลาของกลางวันกับกลางคืนยาวนานเกือบเท่ากันตลอดทั้งปี และเห็น[[ดวงอาทิตย์]]ผ่าน[[จุดเหนือศีรษะ]]ในเวลาเที่ยงของวัน[[วิษุวัต]]


เส้นศูนย์สูตรของ[[โลก]]มีความยาวประมาณ 40,075 [[กิโลเมตร]] หรือ 24,901.5 [[ไมล์]] มีประเทศ 13 ประเทศที่เส้นศูนย์สูตรผ่าน
เส้นศูนย์สูตรของ[[โลก]]มีความยาวประมาณ 40,075 [[กิโลเมตร]] หรือ 24,901.5 [[ไมล์]] มีประเทศ 13 ประเทศที่เส้นศูนย์สูตรผ่าน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:40, 20 สิงหาคม 2555

เส้นศูนย์สูตรบนแผนที่โลก

ในทางภูมิศาสตร์ เส้นศูนย์สูตร (อังกฤษ: Equator) คือเส้นสมมุติรอบดาวเคราะห์ มีระยะห่างจากขั้วเหนือกับขั้วใต้เท่า ๆ กัน และตั้งฉากกับแกนหมุนของดาวเคราะห์ เส้นศูนย์สูตรแบ่งดาวเคราะห์ออกเป็นซีกเหนือและซีกใต้ มีละติจูดเท่ากับ 0 องศา ผู้สังเกตที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตร มีระยะเวลาของกลางวันกับกลางคืนยาวนานเกือบเท่ากันตลอดทั้งปี และเห็นดวงอาทิตย์ผ่านจุดเหนือศีรษะในเวลาเที่ยงของวันวิษุวัต

เส้นศูนย์สูตรของโลกมีความยาวประมาณ 40,075 กิโลเมตร หรือ 24,901.5 ไมล์ มีประเทศ 13 ประเทศที่เส้นศูนย์สูตรผ่าน

เส้นศูนย์สูตรเป็นหนึ่งในเส้นรุ้ง 5 เส้นสำคัญของโลกที่แบ่งตามการหมุนของโลกและการโคจรของดาวเคราะห์

แหล่งข้อมูลอื่น