ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทระ โนะ คิโยโมริ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เฮย์จิ" → "เฮจิ" +แทนที่ "โงะ-ชิระงะวะ" → "โกะ-ชิระงะวะ" +แทนที่ "พระจักรพรรดิ" → "จักรพรรดิ" ...
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
| successor =
| successor =
| country1 = ญี่ปุ่น
| country1 = ญี่ปุ่น
| children = [[ไทระ โนะ ชิเงะโมะริ]]<br>ไทระ โนะ โมะโตะโมะริ<br>[[ไทระ โนะ มุเนะโมะริ]]<br>[[ไทระ โนะ โทะโมะโมะริ]]<br>พระจักรพรรดินี[[ไทระ โนะ โทะกุโกะ]]<br>ไทระ โนะ โมะริโกะ<br>[[ไทระ โนะ ชิเงะฮิระ]]
| children = [[ไทระ โนะ ชิเงะโมะริ]]<br>ไทระ โนะ โมะโตะโมะริ<br>[[ไทระ โนะ มุเนะโมะริ]]<br>[[ไทระ โนะ โทะโมะโมะริ]]<br>จักรพรรดินี[[ไทระ โนะ โทะกุโกะ]]<br>ไทระ โนะ โมะริโกะ<br>[[ไทระ โนะ ชิเงะฮิระ]]
| birth_date = ค.ศ. 1118
| birth_date = ค.ศ. 1118
| death_date = ค.ศ. 1181 (63 ปี)
| death_date = ค.ศ. 1181 (63 ปี)
บรรทัด 20: บรรทัด 20:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
ชีวประวัติของคิโยะโมะริมีการกล่าวถึงโดยละเอียดในวรรณกรรม[[ยุคคะมะกุระ]]เรื่อง "เฮเกะ โมะโนะงะตะริ" ({{nihongo2|平家物語|Heike Monogatari}}) ซึ่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับตระกูลไทระและตัวคิโยะโมะริเป็นหลัก กล่าวถึง[[จักรพรรดิชิระกะวะ]] ({{nihongo2|白河院|Shirakawa-in}}) ได้ทรงมีพระสนมองค์โปรดเป็นนางรำประจำศาลเจ้ากิอง เรียกว่า กิองเนียวโง ({{nihongo2|祇園女御|Gion-nyōgō}}) และยังทรงรับเอาน้องสาวของนางกิองมาเป็นพระสนมด้วย ต่อมาได้ประทานน้องสาวของนางกิองให้ไปเป็นภรรยาของ[[ไทระ โนะ ทะดะโมะริ]] ({{nihongo2|平忠盛|Taira no Tadamori}}) ซะมุไรองค์รักษ์ที่ทรงไว้วางพระทัย ปรากฎว่าน้องสาวของนางกิองได้ตั้งครรภ์อยู่ก่อนแล้ว ทำให้เป็นไปได้ทั้งสองกรณีว่า บุตรที่น้องสาวของนางกิองตั้งครรภ์อยู่นั้น เป็นบุตรของทะดะโมะริ หรือเป็นพระโอรสของจักรพรรดิชิระกะวะ
ชีวประวัติของคิโยะโมะริมีการกล่าวถึงโดยละเอียดในวรรณกรรม[[ยุคคะมะกุระ]]เรื่อง "เฮเกะ โมะโนะงะตะริ" (平家物語) ซึ่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับตระกูลไทระและตัวคิโยะโมะริเป็นหลัก กล่าวถึง[[จักรพรรดิชิระกะวะ]] ได้ทรงมีพระสนมองค์โปรดเป็นนางรำประจำศาลเจ้ากิอง เรียกว่า กิองเนียวโง (祇園女御) และยังทรงรับเอาน้องสาวของนางกิองมาเป็นพระสนมด้วย ต่อมาได้ประทานน้องสาวของนางกิองให้ไปเป็นภรรยาของ[[ไทระ โนะ ทะดะโมะริ]] (平忠盛) ซะมุไรองค์รักษ์ที่ทรงไว้วางพระทัย ปรากฎว่าน้องสาวของนางกิองได้ตั้งครรภ์อยู่ก่อนแล้ว ทำให้เป็นไปได้ทั้งสองกรณีว่า บุตรที่น้องสาวของนางกิองตั้งครรภ์อยู่นั้น เป็นบุตรของทะดะโมะริ หรือเป็นพระโอรสของจักรพรรดิชิระกะวะ


ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม บุตรที่เกิดจากน้องสาวของนางกิองนั้นถือเป็นบุตรชายของทะดะโมะริ เกิดที่นคร[[เฮอังเกียว]] หรือเมือง[[เคียวโตะ]]ในปัจจุบัน โดยมีภรรยาเอกของทะดะโมะริคือ ฟุจิวะระ มุเนะโกะ ({{nihongo2|藤原宗子|Fujiwara no Muneko}}) หรือที่ต่อมาบวชเป็นชีแล้วมีนามว่า "อิเกะโนะเซ็นนิ" ({{nihongo2|池禅尼|Ike no senni}}) เป็นแม่เลี้ยง เมื่ออายุครบกำหนดจึงประกอบพิธี ''เง็มปุกุ'' ได้รับชื่อว่า "ไทระ โนะ คิโยะโมะริ" รับราชการเป็นทหารองค์รักษ์อยู่ในพระราชวัง ใน ค.ศ. 1146 ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ปกครองแคว้นอะกิ ({{nihongo2|安芸守|Aki no kami}}) ทางตะวันตก จนกระทั่งในค.ศ. 1153 ทะดะโมะริผู้เป็นบิดาได้เสียชีวิตลง คิโยะโมะริจึงขึ้นเป็น''โทเรียว'' ({{nihongo2|棟梁|Tōryō}}) หรือประมุขตระกูลไทระต่อมา
ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม บุตรที่เกิดจากน้องสาวของนางกิองนั้นถือเป็นบุตรชายของทะดะโมะริ เกิดที่นคร[[เฮอังเกียว]] หรือเมือง[[เคียวโตะ]]ในปัจจุบัน โดยมีภรรยาเอกของทะดะโมะริคือ ฟุจิวะระ มุเนะโกะ (藤原宗子) หรือที่ต่อมาบวชเป็นชีแล้วมีนามว่า "อิเกะโนะเซ็นนิ" (池禅尼) เป็นแม่เลี้ยง เมื่ออายุครบกำหนดจึงประกอบพิธี ''เง็มปุกุ'' ได้รับชื่อว่า "ไทระ โนะ คิโยะโมะริ" รับราชการเป็นทหารองค์รักษ์อยู่ในพระราชวัง ใน ค.ศ. 1146 ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ปกครองแคว้นอะกิ (安芸守) ทางตะวันตก จนกระทั่งในค.ศ. 1153 ทะดะโมะริผู้เป็นบิดาได้เสียชีวิตลง คิโยะโมะริจึงขึ้นเป็น''โทเรียว'' (棟梁) หรือประมุขตระกูลไทระต่อมา


ไทระ คิโยะโมะริ สมรสกับบุตรสาวที่ไม่ทราบชื่อของทะกะชิโนะ โมะโตะอะกิ ({{nihongo2|高階基章|Takashino Motoaki}}) ซึ่งภรรยาเอกคนแรกนี้ได้เสียชีวิตไปก่อน มีบุตรชายสองคนคือ [[ไทระ โนะ ชิเงะโมะริ]] ({{nihongo2|平重盛|Taira no Shigemori}}) และ [[ไทระ โนะ โมะโตะโมะริ]] ต่อมาคิโยะโมะริได้สมรสใหม่กับ ไทระ โนะ โทะกิโกะ ({{nihongo2|平時子|Taira no Tokiko}}) บุตรสาวของไทระ โนะ โทะกิโนะบุ ({{nihongo2|平時信|Taira no Tokinobu}})
ไทระ คิโยะโมะริ สมรสกับบุตรสาวที่ไม่ทราบชื่อของทะกะชิโนะ โมะโตะอะกิ (高階基章) ซึ่งภรรยาเอกคนแรกนี้ได้เสียชีวิตไปก่อน มีบุตรชายสองคนคือ [[ไทระ โนะ ชิเงะโมะริ]] (平重盛) และ [[ไทระ โนะ โมะโตะโมะริ]] ต่อมาคิโยะโมะริได้สมรสใหม่กับ ไทระ โนะ โทะกิโกะ (平時子) บุตรสาวของไทระ โนะ โทะกิโนะบุ (平時信)


=== กบฎโฮเง็ง ===
=== กบฎโฮเง็ง ===
[[ไฟล์:Hōgen no ran.jpg|thumb|250px|left|การเผาตำหนักชิระกะวะ ช่วงกบฎโฮเง็ง]]
[[ไฟล์:Hōgen no ran.jpg|thumb|250px|left|การเผาตำหนักชิระกะวะ ช่วงกบฎโฮเง็ง]]
แม้ว่า [[จักรพรรดิโทะบะ]] ({{nihongo2|鳥羽法皇|Toba-hōkō}}) จะทรงสละราชสมบัติไปแล้วแต่ยังทรงอำนาจการปกครองอยู่ตามระบอบการปกครองแบบ ''อินเซย์'' ({{nihongo2|院政|Insei}}) ของช่วงปลายสมัยเฮย์อังซึ่งจักรพรรดิสละราชย์ทรงอำนาจสูงสุด จักรพรรดิโทะบะ-อิงทรงมีพระสนมองค์โปรดคือ ฟุจิวะระ โนะ นะริโกะ ({{nihongo2|藤原得子|Fujiwara no Nariko}}) หรือพระนางบิฟุกุมง ({{nihongo2|美福門院|Bifukumon-in}}) และมีพระโอรสด้วยกัน อดีตจักรพรรดิโทะบะจึงทรงบังคับให้องค์จักรพรรดิซึ่งในขณะนั้นคือ [[จักรพรรดิซุโตะกุ]] ({{nihongo2|崇徳上皇|Sutoku-jōkō}}) ให้สละราชสมบัติลงมากลายเป็น ''โจโก'' หรือ จักรพรรดิสละราชย์ แล้วให้พระโอรสที่เกิดแต่พระนางนะริโกะขึ้นเป็น [[จักรพรรดิโคะโนะเอะ]] ใน ค.ศ. 1142 แต่ทว่าจักรพรรดิโคะโนะเอะอยู่ในราชสมบัติได้สิบสามปีก็สวรรคตใน ค.ศ. 1155 ทำให้อดีตจักรพรรดิซุโตะกุ ทรงคาดหวังว่าราชบัลลังก์จะตกเป็นของพระโอรสคือเจ้าชายชิเงะฮิโตะ ({{nihongo2|重仁親王|Shigehito-shinnō}}) แต่อดีตจักรพรรดิโทะบะ กลับทรงมอบราชสมบัติให้แก่พระโอรสอีกองค์หนึ่งขึ้นครองราชย์เป็น [[จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ]] สร้างความคับแค้นใจอย่างมากแก่อดีตจักรพรรดิซุโตะกุ
แม้ว่า [[จักรพรรดิโทะบะ]] (鳥羽法皇) จะทรงสละราชสมบัติไปแล้วแต่ยังทรงอำนาจการปกครองอยู่ตามระบอบการปกครองแบบ ''อินเซ'' (院政) ของช่วงปลายสมัยเฮย์อังซึ่งจักรพรรดิสละราชย์ทรงอำนาจสูงสุด จักรพรรดิโทะบะ-อิงทรงมีพระสนมองค์โปรดคือ ฟุจิวะระ โนะ นะริโกะ (藤原得子) หรือพระนางบิฟุกุมง (美福門院) และมีพระโอรสด้วยกัน อดีตจักรพรรดิโทะบะจึงทรงบังคับให้องค์จักรพรรดิซึ่งในขณะนั้นคือ [[จักรพรรดิซุโตะกุ]] (崇徳上皇) ให้สละราชสมบัติลงมากลายเป็น ''โจโก'' หรือ จักรพรรดิสละราชย์ แล้วให้พระโอรสที่เกิดแต่พระนางนะริโกะขึ้นเป็น [[จักรพรรดิโคะโนะเอะ]] ใน ค.ศ. 1142 แต่ทว่าจักรพรรดิโคะโนะเอะอยู่ในราชสมบัติได้สิบสามปีก็สวรรคตใน ค.ศ. 1155 ทำให้อดีตจักรพรรดิซุโตะกุ ทรงคาดหวังว่าราชบัลลังก์จะตกเป็นของพระโอรสคือเจ้าชายชิเงะฮิโตะ (重仁親王) แต่อดีตจักรพรรดิโทะบะ กลับทรงมอบราชสมบัติให้แก่พระโอรสอีกองค์หนึ่งขึ้นครองราชย์เป็น [[จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ]] สร้างความคับแค้นใจอย่างมากแก่อดีตจักรพรรดิซุโตะกุ


ในขณะเดียวกันนั้นเอง ในราชสำนักมีการแย่งชิงอำนาจระหว่าง [[ฟุจิวะระ โนะ ทะดะมิจิ]] ({{nihongo2|藤原忠通|Fujiwara no Tadamichi}}) [[คัมปะกุ|ผู้สำเร็จราชการ]] กับน้องชายของตนคือ [[ฟุจิวะระ โนะ โยะรินะงะ]] ({{nihongo2|藤原頼長|Fujiwara no Yorinaga}}) ทะดะมิจิเข้าสนับสนุนจักรพรรดิโกะ-ชิระงะวะ ในขณะที่โยะรินะงะสนับสนุนอดีตจักรพรรดิซุโตะกุ ในค.ศ. 1156 อดีตจักรพรรดิโทะบะสวรรคต เปิดโอกาสให้ทั้งสองฝ่ายเตรียมแผนการยึดอำนาจโดยการเกณฑ์กองกำลังทหารจากขุนนางซามุไรในราชสำนักที่มีอยู่ ขุนพลของฝ่ายจักรพรรดิโกะ-ชิระงะวะประกอบด้วย ไทระ โนะ คิโยะโมะริ และ''โทเรียว''หรือประมุขตระกูลเซวะเง็นจิ ({{nihongo2|清和源氏|Seiwa Genji}}) คือ [[มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ]] ({{nihongo2|源義朝|Minamoto no Yoshitomo}}) แต่ทว่าไทระ โนะ ทะดะมะสะ ({{nihongo2|平忠正|Taira no Tadamasa}}) ผู้เป็นอาของคิโยะโมะริกลับไปเข้าพวกกับฝ่ายของอดีตจักรพรรดิซุโตะกุ เกิดเป็นการปะทะกันเรียกว่า "[[กบฎโฮเง็ง]]" ({{nihongo2|保元の乱|Hōgen no ran}}) ซึ่งเกิดขึ้นในปีโฮเง็งที่ 1 หรือ ค.ศ. 1156
ในขณะเดียวกันนั้นเอง ในราชสำนักมีการแย่งชิงอำนาจระหว่าง [[ฟุจิวะระ โนะ ทะดะมิชิ]] (藤原忠通) [[คัมปะกุ|ผู้สำเร็จราชการ]] กับน้องชายของตนคือ [[ฟุจิวะระ โนะ โยะรินะงะ]] (藤原頼長) ทะดะมิชิเข้าสนับสนุนจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ ในขณะที่โยะรินะงะสนับสนุนอดีตจักรพรรดิซุโตะกุ ในค.ศ. 1156 อดีตจักรพรรดิโทะบะสวรรคต เปิดโอกาสให้ทั้งสองฝ่ายเตรียมแผนการยึดอำนาจโดยการเกณฑ์กองกำลังทหารจากขุนนางซะมุไรในราชสำนักที่มีอยู่ ขุนพลของฝ่าย[[จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ]]ประกอบด้วย ไทระ โนะ คิโยะโมะริ และ''โทเรียว''หรือประมุขตระกูลเซวะเง็นจิ (清和源氏) คือ [[มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ]] (源義朝) แต่ทว่าไทระ โนะ ทะดะมะซะ (平忠正) ผู้เป็นอาของคิโยะโมะริกลับไปเข้าพวกกับฝ่ายของอดีตจักรพรรดิซุโตะกุ เกิดเป็นการปะทะกันเรียกว่า "[[กบฎโฮเง็ง]]" (保元の乱) ซึ่งเกิดขึ้นในปีโฮเง็งที่ 1 หรือ ค.ศ. 1156


ทัพของฝ่ายจักรพรรดิโกะ-ชิระงะวะตั้งอยู่ที่ตำหนักทะกะมะสึ ({{nihongo2|高松殿|Takamatsu-dono}}) โยะชิโตะโมะได้เสนอแผนการยกทัพโจมตีฝ่ายอดีตจักรพรรดิซุโตะกุที่ตำหนักชิระกะวะ ({{nihongo2|白河殿|Shirakawa-dono}}) ในเวลากลางคืนเพื่อให้ฝ่ายตรงข้ามไม่ทันตั้งตัว ทัพของคิโยะโมะริจึงยกไปในตอนกลางคืนเพื่อต่อสู้กับทะดะมะสะผู้เป็นอาของตนเอง จนได้รับชัยชนะสามารถเข้ายึดและเผาตำหนักชิระกะวะได้ อดีตจักรพรรดิซุโตะกุทรงถูกเนรเทศ โยะรินะงะเสียชีวิตในที่รบ และทะดะมะสะผู้เป็นอาถูกลงโทษประหารชีวิต โดยให้คิโยะโมะริเป็นผู้ลงมือตัดศีรษะด้วยตนเอง
ทัพของฝ่ายจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะตั้งอยู่ที่ตำหนักทะกะมะสึ (高松殿) โยะชิโตะโมะได้เสนอแผนการยกทัพโจมตีฝ่ายอดีตจักรพรรดิซุโตะกุที่ตำหนักชิระกะวะ (白河殿) ในเวลากลางคืนเพื่อให้ฝ่ายตรงข้ามไม่ทันตั้งตัว ทัพของคิโยะโมะริจึงยกไปในตอนกลางคืนเพื่อต่อสู้กับทะดะมะซะผู้เป็นอาของตนเอง จนได้รับชัยชนะสามารถเข้ายึดและเผาตำหนักชิระกะวะได้ อดีตจักรพรรดิซุโตะกุทรงถูกเนรเทศ โยะรินะงะเสียชีวิตในที่รบ และทะดะมะซะผู้เป็นอาถูกลงโทษประหารชีวิต โดยให้คิโยะโมะริเป็นผู้ลงมือตัดศีรษะด้วยตนเอง


=== กบฎเฮจิ ===
=== สงครามปีเฮย์จิ ===
การขึ้นครองราชย์ของพระจักรพรรดิโงะ-ชิระงะวะทำให้ขุนนางข้ารับใช้คนสนิทของพระจักรพรรดิคือ พระภิกษุชินเซย์ ({{nihongo2|信西|Shinzei}}) ชื่อเดิมว่า ฟุจิวาระ โนะ มิจิโนะริ ({{nihongo2|藤原通憲|Fujiwara no Michinori}}) ขึ้นมามีอำนาจในราชสำนัก พระภิกษุชินเซย์ให้การสนับสนุนไทระ โนะ คิโยะโมะริ อย่างมาก โดยผลักดันให้คิโยะโมะริได้รับการแต่งตั้งเป็น''ทะไซ โนะ ไดนิ'' ({{nihongo2|大宰大弐|Dazai no daini}}) หรือผู้ปกครอง[[เกาะคิวชู]] ในค.ศ. 1158 แต่การขึ้นสู่อำนาจของพระภิกษุชินเซย์สร้างความไม่พอใจแก่ขุนนางคนอื่นๆ โดยเฉพาะฟุจิวาระ โนะ โนะบุโยะริ ({{nihongo2|藤原信頼|Fujiwara no Nobuyori}}) อีกทั้งความก้าวหน้าในอาชีพของคิโยะโมะริยังสร้างความอิจฉาให้แก่มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ ซึ่งไม่ได้รับการปูนบำเหน็จเท่าที่ควรและดำรงตำแหน่งเป็นเพียงแค่คนเลี้ยงม้าในพระราชวัง
การขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ ทำให้ขุนนางข้ารับใช้คนสนิทของจักรพรรดิคือ พระภิกษุชินเซ (信西) ชื่อเดิมว่า [[ฟุจิวะระ โนะ มิชิโนะริ]] (藤原通憲) ขึ้นมามีอำนาจในราชสำนัก พระภิกษุชินเซให้การสนับสนุนคิโยะโมะริอย่างมาก โดยผลักดันให้คิโยะโมะริได้รับการแต่งตั้งเป็น''ดะไซ โนะ ไดนิ'' (大宰大弐) หรือผู้ปกครอง[[เกาะคีวชู]] ในค.ศ. 1158 แต่การขึ้นสู่อำนาจของพระภิกษุชินเซสร้างความไม่พอใจแก่ขุนนางคนอื่นๆ โดยเฉพาะฟุจิวะระ โนะ โนะบุโยะริ (藤原信頼) อีกทั้งความก้าวหน้าในอาชีพของคิโยะโมะริยังสร้างความอิจฉาให้แก่มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ ซึ่งไม่ได้รับการปูนบำเหน็จเท่าที่ควรและดำรงตำแหน่งเป็นเพียงแค่คนเลี้ยงม้าในพระราชวัง


[[ไฟล์:Heiji no ran.jpg|thumb|250px|right|การเผาตำหนักซังโจ]]
[[ไฟล์:Heiji no ran.jpg|thumb|250px|right|การเผาตำหนักซันโจ]]
ค.ศ. 1158 พระจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะทรงสละราชสมบัติให้พระโอรสขึ้นครองราชย์ต่อเป็นพระ[[จักรพรรดินิโจ]] ค.ศ. 1160 ในขณะที่คิโยะโมะริได้เดินทางออกจากเมืองเฮอังเพื่อทำการคารวะสถานที่ศักดิ์สิทธิ์นอกเมือง ฟุจิวาระ โนะ โนะบุโยะริ จึงวางแผนร่วมกับ มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ ในการก่อการยึดอำนาจ โยะชิโตะโมะยกทัพเข้ายึดพระราชวังกุมองค์พระจักรพรรดินิโจไว้ และยกทัพเข้าโจมตีตำหนักซังโจ ({{nihongo2|三条殿|Sanjō-dono}}) อันเป็นที่ประทับของอดีตพระจักรพรรดิโงะ-ชิระงะวะ เข้าสังหารข้าราชบริพารของอดีตพระจักรพรรดิไปมากรวมถึงพระภิกษุชินเซย์ด้วย แล้วจึงกุมองค์อดีตพระจักรพรรดิไว้
ค.ศ. 1158 จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะทรงสละราชสมบัติให้พระโอรสขึ้นครองราชย์ต่อเป็น[[จักรพรรดินิโจ]] ค.ศ. 1160 ในขณะที่คิโยะโมะริได้เดินทางออกจากเมืองเฮอังเพื่อทำการคารวะสถานที่ศักดิ์สิทธิ์นอกเมือง ฟุจิวะระ โนะ โนะบุโยะริ จึงวางแผนร่วมกับ มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ ในการก่อการยึดอำนาจ โยะชิโตะโมะยกทัพเข้ายึดพระราชวังกุมองค์จักรพรรดินิโจไว้ และยกทัพเข้าโจมตีตำหนักซันโจ (三条殿) อันเป็นที่ประทับของอดีตจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ เข้าสังหารข้าราชบริพารของอดีตจักรพรรดิไปมากรวมถึงพระภิกษุชินเซด้วย แล้วจึงกุมองค์อดีตจักรพรรดิไว้


ฝ่ายคิโยะโมะริทราบข่าวเหตุการณ์ในเมืองเฮอังจึงรีบเดินทางกลับมา โดยแสร้งทำเป็นยอมจำนนต่อการยึดอำนาจของโนะบุโยะริและโยะชิโตะโมะ ในขณะเดียวกันได้จัดการให้พระจักรพรรดิทั้งสองพระองค์หลบหนีออกจากที่กุมขังออกมาได้สำเร็จ แล้วจึงส่งบุตรชายคนโตคือ ไทระ โนะ ชิเงะโมะริ ยกทัพเข้าโจมตีฝ่ายตระกูลมินะโมะโตะที่พระราชวัง จากนั้นจึงล่าถอยออกมาหลอกให้ทัพมินะโมะโตะติดตามมาจนถึงโระกุฮะระ ({{nihongo2|六波羅|Rokuhara}}) อันเป็นที่อยู่ของตระกูลไทระ แล้วคิโยะโมะริจึงนำทัพเข้าโจมตีจนทัพฝ่ายมินะโมะโตะพ่ายแพ้ไป
ฝ่ายคิโยะโมะริทราบข่าวเหตุการณ์ในเมืองเฮอังจึงรีบเดินทางกลับมา โดยแสร้งทำเป็นยอมจำนนต่อการยึดอำนาจของโนะบุโยะริและโยะชิโตะโมะ ในขณะเดียวกันได้จัดการให้จักรพรรดิทั้งสองพระองค์หลบหนีออกจากที่กุมขังออกมาได้สำเร็จ แล้วจึงส่งบุตรชายคนโตคือ ไทระ โนะ ชิเงะโมะริ ยกทัพเข้าโจมตีฝ่ายตระกูลมินะโมะโตะที่พระราชวัง จากนั้นจึงล่าถอยออกมาหลอกให้ทัพมินะโมะโตะติดตามมาจนถึงโระกุฮะระ (六波羅) อันเป็นที่อยู่ของตระกูลไทระ แล้วคิโยะโมะริจึงนำทัพเข้าโจมตีจนทัพฝ่ายมินะโมะโตะพ่ายแพ้ไป


โนะบุโยะริถูกสังหารที่รบ ส่วนโยะชิโตะโมะหลบหนีเข้าป่าไปถูกข้ารับใช้ของตนเองสังหาร คิโยะโมะริจึงทำการกวาดล้างตระกูลเซวะเง็นจิโดยการตัดสินประหารชีวิตเซวะเง็นจิทุกคนที่จับตัวได้ แต่ด้วยคำขอของนางอิเกะผู้เป็นมารดาเลี้ยง คิโยะโมะริได้ไว้ชีวิตบุตรชายของโยะชิโตะโมะคือ [[มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ]] ({{nihongo2|源頼朝|Minamoto no Yoritomo}}) ซึ่งถูกเนรเทศไปยังแคว้นอิซุทางตะวันออก รวมทั้งได้ไว้ชีวิตบุตรชายทั้งสามคนของโยะชิโตะโมะที่เกิดกับนางโทะกิวะ-โงเซ็ง ({{nihongo2|常盤御前|Tokiwa-Gōzen}}) โดยมีข้อแลกเปลี่ยนว่านางโทะกิวะจะต้องมาเป็นภรรยาน้อยของคิโยะโมะริ
โนะบุโยะริถูกสังหารที่รบ ส่วนโยะชิโตะโมะหลบหนีเข้าป่าไปถูกข้ารับใช้ของตนเองสังหาร คิโยะโมะริจึงทำการกวาดล้างตระกูลเซวะเง็นจิโดยการตัดสินประหารชีวิตเซวะเง็นจิทุกคนที่จับตัวได้ แต่ด้วยคำขอของนางอิเกะผู้เป็นมารดาเลี้ยง คิโยะโมะริได้ไว้ชีวิตบุตรชายของโยะชิโตะโมะคือ [[มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ]] (源頼朝) ซึ่งถูกเนรเทศไปยังแคว้นอิซุทางตะวันออก รวมทั้งได้ไว้ชีวิตบุตรชายทั้งสามคนของโยะชิโตะโมะที่เกิดกับนางโทะกิวะ-โกเซ็ง (Tokiwa-Gōzen) โดยมีข้อแลกเปลี่ยนว่านางโทะกิวะจะต้องมาเป็นภรรยาน้อยของคิโยะโมะริ


=== เรืองอำนาจในราชสำนัก ===
=== เรืองอำนาจในราชสำนัก ===
เมื่อสิ้นสุดสงครามเฮย์จิแล้วทำให้คิโยะโมะริมีความดีความชอบมากขึ้นมากลายเป็นผู้มีอำนาจในราชสำนักเมืองเฮอัง ในค.ศ. 1161 น้องสะใภ้ของคิโยะโมะริคือ ไทระ โนะ ชิเงะโกะ ({{nihongo2|平滋子|Taira no Shigeko}}) ซึ่งเป็นน้องสาวของนางโทะกิโกะภรรยาเอกของคิโยะโมะริ ได้อภิเษกเป็นพระสนมพระองค์ใหม่ในอดีตพระจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ และประสูติพระโอรสให้แก่อดีตพระจักรพรรดิในปีเดียวกัน ทำให้พระจักรพรรดินิโจซึ่งยังไม่มีพระโอรสทรงเกรงว่าพระจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะจะทรงยกราชบัลลังก์ให้พระโอรสองค์ใหม่ ในปีเดียวกันนั้นคิโยะโมะริได้รับการแต่งตั้งเป็น''ชูนะงอง'' ({{nihongo2|中納言|Chūnagon}}) นับว่าเป็นขุนนางระดับสูงหรือ''คุเกียว'' ({{nihongo2|公卿|Kugyō}}) คนแรกในประวัติศาสตร์ที่มาจากชนชั้นซะมุไร เนื่องจากตระกูลไทระพำนักอยู่ที่เขตโระกุฮะระในเมืองเฮอัง คิโยะโมะริจึงได้รับฉายาตามที่อยู่ของตนว่า "ท่านโระกุฮะระ" ({{nihongo2|六波羅殿|Rokuhara-dono}})
เมื่อสิ้นสุดสงครามเฮจิแล้วทำให้คิโยะโมะริมีความดีความชอบมากขึ้นมากลายเป็นผู้มีอำนาจในราชสำนักเมืองเฮอัง ในค.ศ. 1161 น้องสะใภ้ของคิโยะโมะริคือ ไทระ โนะ ชิเงะโกะ (平滋子) ซึ่งเป็นน้องสาวของนางโทะกิโกะภรรยาเอกของคิโยะโมะริ ได้อภิเษกเป็นพระสนมพระองค์ใหม่ในอดีตจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ และประสูติพระโอรสให้แก่อดีตจักรพรรดิในปีเดียวกัน ทำให้จักรพรรดินิโจซึ่งยังไม่มีพระโอรสทรงเกรงว่าจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะจะทรงยกราชบัลลังก์ให้พระโอรสองค์ใหม่ ในปีเดียวกันนั้นคิโยะโมะริได้รับการแต่งตั้งเป็น ''ชูนะงง'' (中納言) นับว่าเป็นขุนนางระดับสูงหรือ ''คุเงียว'' (公卿) คนแรกในประวัติศาสตร์ที่มาจากชนชั้นซะมุไร เนื่องจากตระกูลไทระพำนักอยู่ที่เขตโระกุฮะระในเมืองเฮอัง คิโยะโมะริจึงได้รับฉายาตามที่อยู่ของตนว่า "ท่านโระกุฮะระ" (六波羅殿)


พระจักรพรรดินิโจมีพระโอรสในที่สุดเมื่อค.ศ. 1164 จึงทรงรีบชิงสละราชสมบัติให้แก่พระโอรสของพระองค์เอง ขึ้นครองราชย์เป็นพระ[[จักรพรรดิโระกุโจ]]ในค.ศ. 1165 แล้วพระจักรพรรดินิโจก็สวรรคตในปีเดียวกัน คิโยะโมะริได้รับการเลื่อนขั้นเป็น''ไดนะงอง'' ({{nihongo2|大納言|Dainagon}}) และในปีต่อมาค.ศ. 1166 เป็น''ไนไดจิง'' ({{nihongo2|内大臣|Naidaijin}}) จนกระทั่งค.ศ. 1167 คิโยะโมะริขึ้นสู่ตำแหน่งสูงสุดในราชสำนักรองจากผู้สำเร็จราชการคือ ''ไดโจไดจิง'' ({{nihongo2|太政大臣|Daijō daijin}}) แต่ทว่าคิโยะโมะริอยู่ในตำแหน่ง''ไดโจไดจิง''ได้เพียงสามเดือนก็ล้มป่วยลงจนต้องลาออกจากตำแหน่งและบรรพชาเป็นพระภิกษุ (ชาวญี่ปุ่นสมัยเฮอังเชื่อว่าหากบวชเป็นพระแล้วจะหายจากความเจ็บป่วย) พระจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะทรงเกรงว่าคิโยะโมะริจะถึงแก่อสัญกรรมและพระองค์จะสูญเสียอำนาจ จึงทรงบังคับให้พระจักรพรรดิโระกุโจสละราชสมบัติให้แก่พระโอรสของพระองค์ที่ประสูติแต่พระสนมชิเงะโกะ ขึ้นครองราชย์เป็น พระ[[จักรพรรดิทะกะกุระ]]ในค.ศ. 1168 ต่อมาในค.ศ. 1172 คิโยะโมะริจึงส่งบุตรสาวของตนคือ [[ไทระ โนะ โทะกุโกะ]] ({{nihongo2|平徳子|Taira no Tokuko}}) เข้าอภิเษกเป็นพระจักรพรรดินีในพระจักรพรรดิทะกะกุระ และประสูติพระโอรสให้แด่พระจักรพรรดิในค.ศ. 1178
จักรพรรดินิโจมีพระโอรสในที่สุดเมื่อค.ศ. 1164 จึงทรงรีบชิงสละราชสมบัติให้แก่พระโอรสของพระองค์เอง ขึ้นครองราชย์เป็น[[จักรพรรดิโระกุโจ]]ในค.ศ. 1165 แล้วจักรพรรดินิโจก็สวรรคตในปีเดียวกัน คิโยะโมะริได้รับการเลื่อนขั้นเป็น''ไดนะงง'' (大納言) และในปีต่อมาค.ศ. 1166 เป็น ''ไนไดจิง'' (内大臣) จนกระทั่งค.ศ. 1167 คิโยะโมะริขึ้นสู่ตำแหน่งสูงสุดในราชสำนักรองจากผู้สำเร็จราชการคือ ''ไดโจไดจิง'' (太政大臣) แต่ทว่าคิโยะโมะริอยู่ในตำแหน่ง''ไดโจไดจิง''ได้เพียงสามเดือนก็ล้มป่วยลงจนต้องลาออกจากตำแหน่งและบรรพชาเป็นพระภิกษุ (ชาวญี่ปุ่นสมัยเฮอังเชื่อว่าหากบวชเป็นพระแล้วจะหายจากความเจ็บป่วย) จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะทรงเกรงว่าคิโยะโมะริจะถึงแก่อสัญกรรมและพระองค์จะสูญเสียอำนาจ จึงทรงบังคับให้จักรพรรดิโระกุโจสละราชสมบัติให้แก่พระโอรสของพระองค์ที่ประสูติแต่พระสนมชิเงะโกะ ขึ้นครองราชย์เป็น [[จักรพรรดิทะกะกุระ]]ในค.ศ. 1168 ต่อมาในค.ศ. 1172 คิโยะโมะริจึงส่งบุตรสาวของตนคือ [[ไทระ โนะ โทะกุโกะ]] (平徳子) เข้าอภิเษกเป็นจักรพรรดินีในจักรพรรดิทะกะกุระ และประสูติพระโอรสให้แด่จักรพรรดิในค.ศ. 1178


เมื่อพระจักรพรรดิืทะกะทุระขึ้นครองราชย์แล้วอดีตพระจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะทรงต้องการที่จะมีอำนาจในการปกครองแบบ''อินเซย์'' แต่ทว่าคิโยะโมะริก็แสวงหาอิทธิพลเหนือพระจักรพรรดิองค์ใหม่เช่นกัน ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างคิโยะโมะริกับอดีตพระจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะต้องขาดสะบั้นลง ในค.ศ. 1177 ฟุจิวาระ โนะ นะริจิกะ ({{nihongo2|藤原成親|Fujiwara no Narichika}}) ข้ารับใช้คนสนิทของอดีตพระจักรพรรดิ ซึ่งเป็นน้องชายของภรรยาเอกของชิเงะโมะริ วางแผนโค่นอำนาจของตระกูลไทระที่เขตชิชิงะทะนิ ({{nihongo2|鹿ケ谷|Shishigatani}}) ในเมืองเฮอัง แต่ทว่าหน่วยสืบราชการลับของคิโยะโมะริไปพบเข้า จึงมีการลงโทษขุนนางที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก นะริจิกะถูกเนรเทศและประหารชีวิตในเวลาต่อมา และทำให้คิโยะโมะริมีความแคลงใจในองค์อดีตพระจักรพรรดิอย่างมาก
เมื่อจักรพรรดิืทะกะทุระขึ้นครองราชย์แล้วอดีตจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะทรงต้องการที่จะมีอำนาจในการปกครองแบบ''อินเซ'' แต่ทว่าคิโยะโมะริก็แสวงหาอิทธิพลเหนือจักรพรรดิองค์ใหม่เช่นกัน ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างคิโยะโมะริกับอดีตจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะต้องขาดสะบั้นลง ในค.ศ. 1177 ฟุจิวะระ โนะ นะริชิกะ (藤原成親) ข้ารับใช้คนสนิทของอดีตจักรพรรดิ ซึ่งเป็นน้องชายของภรรยาเอกของชิเงะโมะริ วางแผนโค่นอำนาจของตระกูลไทระที่เขตชิชิงะตะนิ (鹿ケ谷) ในเมืองเฮอัง แต่ทว่าหน่วยสืบราชการลับของคิโยะโมะริไปพบเข้า จึงมีการลงโทษขุนนางที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก นะริชิกะถูกเนรเทศและประหารชีวิตในเวลาต่อมา และทำให้คิโยะโมะริมีความแคลงใจในองค์อดีตจักรพรรดิอย่างมาก


ในค.ศ. 1164 คิโยะโมะริส่งบุตรสาวของตนอีกคนคือ ไทระ โนะ โมะริโกะ ({{nihongo2|平盛子|Taira no Moriko}}) ไปสมรสกับผู้สำเร็จราชการ โคะโนะเอะ โมะโตะซะเนะ ({{nihongo2|近衛基実|Konoe Motozane}}) ซึ่งเป็นบุตรชายของฟุจิวาระ โนะ ทะดะมิจิ เมื่อผู้สำเร็จราชการโมะโตะซะเนะถึงแก่อสัญกรรมในค.ศ. 1166 คิโยะโมะริได้ใช้อิทธิพลของตนบังคับให้ทรัพย์สินมรดกของโมะโตะซะเนะตกเป็นของนางโมะริโกะแทนที่จะส่งต่อให้แก่บุตรชาย แต่เมื่อนางโมะริโกะเสียชีวิตในค.ศ. 1179 อดีตพระจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะทรงยึดเอาทรัพย์สินของนางโมริโกะที่ได้จากสามีเข้าราชสำนักทั้งหมด และในปีเดียวกันนั้นบุตรชายคนโตของคิโยะโมะริคือชิเงะโมะริได้ถึงแก่อสัญกรรมลง ทรัพย์สินของชิเงะโมะริก็ถูกริบไปทั้งหมดเช่นกัน ทำให้คิโยะโมะริไม่พอใจอย่างมาก จึงทำการยึดอำนาจจากอดีตพระจักรพรรดิในค.ศ. 1179 กุมขังองค์อดีตพระจักรพรรดิเอาไว้ รวมทั้งปลดขุนนางระดับสูงในราชสำนักเฮอังออกทั้งหมดตั้งแต่ผู้สำเร็จราชการลงมา แล้วแต่งตั้งขุนนางจากตระกูลไทระเข้าไปแทนที่ขุนนางเหล่านั้น
ในค.ศ. 1164 คิโยะโมะริส่งบุตรสาวของตนอีกคนคือ [[ไทระ โนะ โมะริโกะ]] (平盛子) ไปสมรสกับผู้สำเร็จราชการฯ [[โคะโนะเอะ โมะโตะซะเนะ]] (Konoe Motozane) ซึ่งเป็นบุตรชายของฟุจิวะระ โนะ ทะดะมิชิ เมื่อผู้สำเร็จราชการโมะโตะซะเนะถึงแก่อสัญกรรมในค.ศ. 1166 คิโยะโมะริได้ใช้อิทธิพลของตนบังคับให้ทรัพย์สินมรดกของโมะโตะซะเนะตกเป็นของนางโมะริโกะแทนที่จะส่งต่อให้แก่บุตรชาย แต่เมื่อนางโมะริโกะเสียชีวิตในค.ศ. 1179 อดีตจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะทรงยึดเอาทรัพย์สินของนางโมริโกะที่ได้จากสามีเข้าราชสำนักทั้งหมด และในปีเดียวกันนั้นบุตรชายคนโตของคิโยะโมะริคือชิเงะโมะริได้ถึงแก่อสัญกรรมลง ทรัพย์สินของชิเงะโมะริก็ถูกริบไปทั้งหมดเช่นกัน ทำให้คิโยะโมะริไม่พอใจอย่างมาก จึงทำการยึดอำนาจจากอดีตจักรพรรดิในค.ศ. 1179 กุมขังงค์อดีตจักรพรรดิเอาไว้ รวมทั้งปลดขุนนางระดับสูงในราชสำนักเฮอังออกทั้งหมดตั้งแต่ผู้สำเร็จราชการลงมา แล้วแต่งตั้งขุนนางจากตระกูลไทระเข้าไปแทนที่ขุนนางเหล่านั้น


[[ไฟล์:Itsukushima torii distance.jpg|thumb|200px|right|ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ]]
[[ไฟล์:Itsukushima torii distance.jpg|thumb|200px|right|ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ]]
ในปีต่อมาค.ศ. 1180 คิโยะโมะริได้บังคับให้พระจักรพรรดิทะกะกุระทรงสละราชบัลลังก์ แล้วให้พระโอรสที่เกิดแต่พระจักรพรรดินีโทะกุโกะซึ่งมีพระชนมายุเพียงสองปี ขึ้นครองราชย์เป็นพระ[[จักรพรรดิอังโตะกุ]] เท่ากับว่าคิโยะโมะริมีศักดิ์เป็นพระอัยกา (ตา) ของพระจักรพรรดิ แล้วคิโยะโมะริจึงพาอดีตพระจักรพรรดิทะกะกุระเสด็จไปกราบไหว้ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ ({{nihongo2|厳島神社|Itsukushima jinja}}) ทางตะวันตกใกล้กับเมืิอง[[ฮิโรชิม่า]]ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นศาลเจ้าที่ตระกูลไทระให้การสนับสนุน แทนที่จะเป็นศาลเจ้าหลวงใกล้กับเมืองเฮอัง


ในปีต่อมาค.ศ. 1180 คิโยะโมะริได้บังคับให้จักรพรรดิทะกะกุระทรงสละราชบัลลังก์ แล้วให้พระโอรสที่เกิดแต่จักรพรรดินีโทะกุโกะซึ่งมีพระชนมายุเพียงสองปี ขึ้นครองราชย์เป็น[[จักรพรรดิอันโตะกุ]] เท่ากับว่าคิโยะโมะริมีศักดิ์เป็นพระอัยกา (ตา) ของจักรพรรดิ แล้วคิโยะโมะริจึงพาอดีตจักรพรรดิทะกะกุระเสด็จไปกราบไหว้ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ (厳島神社) ทางตะวันตกใกล้กับเมืิอง[[ฮิโรชิม่า]]ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นศาลเจ้าที่ตระกูลไทระให้การสนับสนุน แทนที่จะเป็นศาลเจ้าหลวงใกล้กับเมืองเฮอัง
=== สงครามเง็มเปและบั้นปลายชีวิต ===

=== สงครามเก็มเปและบั้นปลายชีวิต ===
{{main|สงครามเก็มเป}}
{{main|สงครามเก็มเป}}
ในค.ศ. 1180 ระหว่างที่คิโยะโมะริพาอดีตพระจักรพรรดิทะกะกุระเสด็จไปศาลเจ้าอิสึกุชิมะอยู่นั้น องค์ชายโมะจิฮิโตะ ({{nihongo2|以仁王|Mochihito-ō}}) พระโอรสอีกองค์หนึ่งของอดีตพระจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะซึ่งไม่พอใจการมีอำนาจของคิโยะโมะริ ร่วมมือกับ[[มินะโมะโตะ โนะ โยะริมะซะ]] ({{nihongo2|源頼政|Minamoto no Yorimasa}}) ขุนพลอาวุโสแห่งตระกูลเซวะเง็นจิ ซึ่งเคยเปลี่ยนฝ่ายมาเข้ากับตระกูลไทระเมื่อครั้งสงครามเฮจิ ออกประกาศให้สมาชิกตระกูลเซวะเง็นจิที่ยังคงมีชีวิตอยู่ทั่วทั้งญี่ปุ่นลุกฮือขึ้นต่อต้านการปกครองของตระกูลไทระ เมื่อคิโยะโมะริทราบเรื่องจึงส่งทัพนำโดยบุตรชายคนที่สี่คือ [[ไทระ โนะ โทะโมะโมะริ]] ({{nihongo2|平知盛|Taira no Tomomori}}) และบุตรชายคนที่ห้าคือ [[ไทระ โนะ ชิเงะฮิระ]] ({{nihongo2|平重衡|Taira no Shigehira}}) ออกไปปราบกบฎที่เมืองเฮอัง ฝ่ายองค์ชายโมะจิฮิโตะและโยะริมะซะได้หลบหนีออกจากเมือง แต่ถูกทัพของสองพี่น้องตระกูลไทระตามจนพบที่แม่น้ำอุจิได้ต่อสู้กันจนฝ่ายไทระได้รับชัยชนะ โยะริมะซะกระทำการ''เซ็ปปุกุ''เสียชีวิตและองค์ชายโมะจิฮิโตะหลบหนีไปแต่ถูกจับองค์ได้และสำเร็จโทษในเวลาต่อมา
ในค.ศ. 1180 ระหว่างที่คิโยะโมะริพาอดีตจักรพรรดิทะกะกุระเสด็จไปศาลเจ้าอิสึกุชิมะอยู่นั้น เจ้าชายโมะชิฮิโตะ (以仁王) พระโอรสอีกองค์หนึ่งของอดีตจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะซึ่งไม่พอใจการมีอำนาจของคิโยะโมะริ ร่วมมือกับ [[มินะโมะโตะ โนะ โยะริมะซะ]] (源頼政) ขุนพลอาวุโสแห่งตระกูลเซวะเง็นจิ ซึ่งเคยเปลี่ยนฝ่ายมาเข้ากับตระกูลไทระเมื่อครั้งสงครามเฮจิ ออกประกาศให้สมาชิกตระกูลเซวะเง็นจิที่ยังคงมีชีวิตอยู่ทั่วทั้งญี่ปุ่นลุกฮือขึ้นต่อต้านการปกครองของตระกูลไทระ เมื่อคิโยะโมะริทราบเรื่องจึงส่งทัพนำโดยบุตรชายคนที่สี่คือ [[ไทระ โนะ โทะโมะโมะริ]] (平知盛) และบุตรชายคนที่ห้าคือ [[ไทระ โนะ ชิเงะฮิระ]] (平重衡) ออกไปปราบกบฎที่เมืองเฮอัง ฝ่ายเจ้าชายโมะชิฮิโตะและโยะริมะซะได้หลบหนีออกจากเมือง แต่ถูกทัพของสองพี่น้องตระกูลไทระตามจนพบที่แม่น้ำอุจิได้ต่อสู้กันจนฝ่ายไทระได้รับชัยชนะ โยะริมะซะกระทำการ''เซ็ปปุกุ''เสียชีวิตและเจ้าชายโมะชิฮิโตะหลบหนีไปแต่ถูกจับองค์ได้และสำเร็จโทษในเวลาต่อมา


หลังจากปราบกบฎได้แล้วคิโยะโมะริได้ย้ายราชสำนักพร้อมทั้งพระจักรพรรดิอังโตะกุไปยังเมืองฟุกุฮะระ ({{nihongo2|福原|Fukuhara}}) ทางตะวันตกในเขตที่เป็นเมือง[[โกเบ]]ในปัจจุบัน แต่ย้ายไปเป็นเวลาเพียงห้าเดือนจึงย้ายราชสำนักกลับมายังเมืองเฮอัง ในเวลาเดียวกันนั้น มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะมะ สามารถตั้งตัวเป็นใหญ่ได้ในภูมิภาค[[คันโต]]ทางตะวันออก โดยมีที่มั่นที่เมือง[[คะมะกุระ]] คิโยะโมะริจึงส่งหลานชายคือ [[ไทระ โนะ โคะเระโมะริ]] ({{nihongo2|平維盛|Taira no Koremori}}) บุตรชายของชิเงะโมะริ ยกทัพไปปราบโยะโระโตะโมะในค.ศ. 1181 แต่พ่ายแพ้อย่างราบคาบ ในปีเดียวกันอดีตพระจักรพรรดิทะกะกุระสวรรคต และอีกเพียงหนึ่งเดือนต่อมาคิโยะโมะริก็ได้ล้มป่วยลงจนถึงแก่อสัญกรรมด้วยอายุ 63 ปี โดยที่[[สงครามเก็มเป|สงครามเง็มเป]] ({{nihongo2|源平合戦|Genpei kassen}}) ยังไม่สิ้นสุด
หลังจากปราบกบฎได้แล้วคิโยะโมะริได้ย้ายราชสำนักพร้อมทั้งจักรพรรดิอันโตะกุไปยังเมือง[[ฟุกุฮะระ]] (福原) ทางตะวันตกในเขตที่เป็นเมือง[[โกเบ]]ในปัจจุบัน แต่ย้ายไปเป็นเวลาเพียงห้าเดือนจึงย้ายราชสำนักกลับมายังเมืองเฮอัง ในเวลาเดียวกันนั้น มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะมะ สามารถตั้งตัวเป็นใหญ่ได้ในภูมิภาค[[คันโต]]ทางตะวันออก โดยมีที่มั่นที่เมือง[[คะมะกุระ]] คิโยะโมะริจึงส่งหลานชายคือ [[ไทระ โนะ โคะเระโมะริ]] (平維盛) บุตรชายของชิเงะโมะริ ยกทัพไปปราบโยะโระโตะโมะในค.ศ. 1181 แต่พ่ายแพ้อย่างราบคาบ ในปีเดียวกันอดีตจักรพรรดิทะกะกุระสวรรคต และอีกเพียงหนึ่งเดือนต่อมาคิโยะโมะริก็ได้ล้มป่วยลงจนถึงแก่อสัญกรรมด้วยอายุ 63 ปี โดยที่[[สงครามเก็มเป]] (源平合戦) ยังไม่สิ้นสุด


[[ไฟล์:AntokuTennou Engi.7&8 Dannoura Kassen.jpg|thumb|200px|left|ยุทธนาวีทังโนะอุระ]]
[[ไฟล์:AntokuTennou Engi.7&8 Dannoura Kassen.jpg|thumb|200px|left|ยุทธนาวีดังโนะอุระ]]
เนื่องจากชิเงะโมะริบุตรชายคนโตได้เสียชีวิตไปก่อนเมื่อค.ศ. 1179 และโมะโตะโมะริบุตรชายคนที่สองเสียชีวิตเมื่อค.ศ. 1162 บุตรชายคนที่สามคือ [[ไทระ โนะ มุเนะโมะริ]] ({{nihongo2|平宗盛|Taira no Munemori}}) จึงเป็นผู้สืบทอดตำแหน่งประมุขของตระกูลไทระต่อจากคิโยะโมะริผู้เป็นบิดา ตระกูลไทระภายใต้การนำของมุเนะโมะริยังคงดำเนินการต่อสู้กับตระกูลมินะโมะโตะในสงครามเง็นเปต่อไป จนกระทั่ง[[มินะโมะโตะ โนะ โยะชินะกะ]] ({{nihongo2|源義仲|Minamoto no Yoshinaka}}) ผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องของมินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ สามารถหักตีเอาเมืองเกียวโตได้ในค.ศ. 1183 มุเนะโมะริจึงพาสมาชิกตระกูลไทระและพระจักรพรรดิ์อังโตะกุอพยพหลบหนีไปยังเมืองยะชิมะ ({{nihongo2|屋島|Yashima}}) บนเกาะ[[ชิโกกุ]] ต่อมาโยะชินะกะได้พ่ายแพ้ต่อ[[มินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ]] ({{nihongo2|源義経|Minamoto no Yoshitsune}}) บุตรชายของนางโทะกิวะซึ่งคิโยะโมะริได้เคยไว้ชีวิต โยะชิสึเนะได้ยกทัพมาล้อมเมืืองยะชิมะจนสามารถตีเมืองได้ในค.ศ. 1185 มุเนะโมะริจึงอพยพพระจักรพรรดิ์และสมาชิกตระกูลไทระลงเรือหนีไปทางตะวันตก โยะชิสึเนะยกทัพเรือติดตามมาจนเอาชนะทัพเรืองไทระได้ใน[[ยุทธนาวีทังโนะอุระ]] ({{nihongo2|壇ノ浦の戦い|Dan-no-ura no tatakai}}) สมาชิกตระกูลไทระเกือบทั้งหมดจึงกระโดดลงทะเลเสียชีวิตเพื่อหนีความพ่ายแพ้ โดยที่นางโทะกิโกะภรรยาเอกของคิโยะโมะริ ได้อุ้มพระจักรพรรดิอังโตะกุที่ทรงพระเยาว์กระโดดลงทะเลสวรรคตและเสียชีวิตทั้งคู่ เพียงสี่ปีหลังจากการอสัญกรรมของคิโยะโมะริ ตระกูลไทระก็ถึงแก่กาลอวสาน เปลี่ยนเป็นการปกครองของ[[รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ]]
เนื่องจากชิเงะโมะริบุตรชายคนโตได้เสียชีวิตไปก่อนเมื่อค.ศ. 1179 และโมะโตะโมะริบุตรชายคนที่สองเสียชีวิตเมื่อค.ศ. 1162 บุตรชายคนที่สามคือ [[ไทระ โนะ มุเนะโมะริ]] (平宗盛) จึงเป็นผู้สืบทอดตำแหน่งประมุขของตระกูลไทระต่อจากคิโยะโมะริผู้เป็นบิดา ตระกูลไทระภายใต้การนำของมุเนะโมะริยังคงดำเนินการต่อสู้กับตระกูลมินะโมะโตะในสงครามเก็มเปต่อไป จนกระทั่ง [[มินะโมะโตะ โนะ โยะชินะกะ]] (源義仲) ผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องของมินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ สามารถหักตีเอาเมืองเกียวโตได้ในค.ศ. 1183 มุเนะโมะริจึงพาสมาชิกตระกูลไทระและจักรพรรดิอันโตะกุอพยพหลบหนีไปยังเมืองยะชิมะ (屋島) บนเกาะ[[ชิโกกุ]] ต่อมาโยะชินะกะได้พ่ายแพ้ต่อ[[มินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ]] บุตรชายของนางโทะกิวะซึ่งคิโยะโมะริได้เคยไว้ชีวิต โยะชิสึเนะได้ยกทัพมาล้อมเมืืองยะชิมะจนสามารถตีเมืองได้ในค.ศ. 1185 มุเนะโมะริจึงอพยพจักรพรรดิและสมาชิกตระกูลไทระลงเรือหนีไปทางตะวันตก โยะชิสึเนะยกทัพเรือติดตามมาจนเอาชนะทัพเรืองไทระได้ใน[[ยุทธนาวีดังโนะอุระ]] (壇ノ浦の戦い) สมาชิกตระกูลไทระเกือบทั้งหมดจึงกระโดดลงทะเลเสียชีวิตเพื่อหนีความพ่ายแพ้ โดยที่นางโทะกิโกะภรรยาเอกของคิโยะโมะริ ได้อุ้มจักรพรรดิอันโตะกุที่ทรงพระเยาว์กระโดดลงทะเลสวรรคตและเสียชีวิตทั้งคู่ เพียงสี่ปีหลังจากการอสัญกรรมของคิโยะโมะริ ตระกูลไทระก็ถึงแก่กาลอวสาน เปลี่ยนเป็นการปกครองของ[[รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ]]


== ครอบครัว ==
== ครอบครัว ==
*บิดา ไทระ โนะ ทะดะโมะริ (ค.ศ. 1096 - 1153) หรือพระจักรพรรดิชิระกะวะ
*บิดา ไทระ โนะ ทะดะโมะริ (ค.ศ. 1096 - 1153) หรือจักรพรรดิชิระกะวะ
*มารดา น้องสาวของคิอง-เนียวโง
*มารดา น้องสาวของคิอง-เนียวโง
*พี่น้อง (บุตรของนางอิเกะ-โนะ-เซ็นนิ)
*พี่น้อง (บุตรของนางอิเกะ-โนะ-เซ็นนิ)
บรรทัด 80: บรรทัด 81:
**[[ไทระ โนะ มุเนะโมะริ]] (ค.ศ. 1147 - 1185)
**[[ไทระ โนะ มุเนะโมะริ]] (ค.ศ. 1147 - 1185)
**ไทระ โนะ โทะโมะโมะริ (ค.ศ. 1152 - 1185)
**ไทระ โนะ โทะโมะโมะริ (ค.ศ. 1152 - 1185)
**[[ไทระ โนะ โทะกุโกะ]] (ค.ศ. 1155 - 1214) พระจักรพรรดินีในพระ[[จักรพรรดิทะกะกุระ]] หรือพระนางเค็งเรมง ({{nihongo2|建礼門院|Kenreimon-in}})
**[[ไทระ โนะ โทะกุโกะ]] (ค.ศ. 1155 - 1214) จักรพรรดินีใน[[จักรพรรดิทะกะกุระ]] หรือพระนางเค็งเรมง (建礼門院)
**ไทระ โนะ โมะริโกะ (ค.ศ. 1156 - 1179) สมรสกับ[[คัมปะกุ|ผู้สำเร็จราชการ]]โคะโนะเอะ โมะโตะซะเนะ
**ไทระ โนะ โมะริโกะ (ค.ศ. 1156 - 1179) สมรสกับ[[คัมปะกุ|ผู้สำเร็จราชการ]]โคะโนะเอะ โมะโตะซะเนะ
**ไทระ โนะ ชิเงะฮิระ (ค.ศ. 1157 - 1185)
**ไทระ โนะ ชิเงะฮิระ (ค.ศ. 1157 - 1185)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:15, 12 สิงหาคม 2555

ไทระ คิโยะโมะริ
平清盛
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิดค.ศ. 1118
เสียชีวิตค.ศ. 1181 (63 ปี)
คู่สมรสภรรยาเอก: บุตรสาวของ ทะกะชิโนะ โมะโตะอะกิ
ไทระ โนะ โทะกิโกะ
ภรรยาน้อย: นางโทะกิวะ
บุตรไทระ โนะ ชิเงะโมะริ
ไทระ โนะ โมะโตะโมะริ
ไทระ โนะ มุเนะโมะริ
ไทระ โนะ โทะโมะโมะริ
จักรพรรดินีไทระ โนะ โทะกุโกะ
ไทระ โนะ โมะริโกะ
ไทระ โนะ ชิเงะฮิระ
ญาติบิดา: ไทระ ทะดะโมะริ

ไทระ โนะ คิโยะโมะริ (ญี่ปุ่น: たいら の きよもり Taira no Kiyomori หรือ 平清盛 Taira Kiyomori ค.ศ. 1118 - ค.ศ. 1181) หรือ คิโยะโมะริแห่งไทระ ซะมุไรซึ่งเรืองอำนาจขึ้นปกครองญี่ปุ่นในช่วงปลายยุคเฮอังในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถือเป็นชนชั้นซะมุไรคนแรกในประวัติศาสตร์ที่ได้ขึ้นปกครองประเทศ

ประวัติ

ชีวประวัติของคิโยะโมะริมีการกล่าวถึงโดยละเอียดในวรรณกรรมยุคคะมะกุระเรื่อง "เฮเกะ โมะโนะงะตะริ" (平家物語) ซึ่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับตระกูลไทระและตัวคิโยะโมะริเป็นหลัก กล่าวถึงจักรพรรดิชิระกะวะ ได้ทรงมีพระสนมองค์โปรดเป็นนางรำประจำศาลเจ้ากิอง เรียกว่า กิองเนียวโง (祇園女御) และยังทรงรับเอาน้องสาวของนางกิองมาเป็นพระสนมด้วย ต่อมาได้ประทานน้องสาวของนางกิองให้ไปเป็นภรรยาของไทระ โนะ ทะดะโมะริ (平忠盛) ซะมุไรองค์รักษ์ที่ทรงไว้วางพระทัย ปรากฎว่าน้องสาวของนางกิองได้ตั้งครรภ์อยู่ก่อนแล้ว ทำให้เป็นไปได้ทั้งสองกรณีว่า บุตรที่น้องสาวของนางกิองตั้งครรภ์อยู่นั้น เป็นบุตรของทะดะโมะริ หรือเป็นพระโอรสของจักรพรรดิชิระกะวะ

ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม บุตรที่เกิดจากน้องสาวของนางกิองนั้นถือเป็นบุตรชายของทะดะโมะริ เกิดที่นครเฮอังเกียว หรือเมืองเคียวโตะในปัจจุบัน โดยมีภรรยาเอกของทะดะโมะริคือ ฟุจิวะระ มุเนะโกะ (藤原宗子) หรือที่ต่อมาบวชเป็นชีแล้วมีนามว่า "อิเกะโนะเซ็นนิ" (池禅尼) เป็นแม่เลี้ยง เมื่ออายุครบกำหนดจึงประกอบพิธี เง็มปุกุ ได้รับชื่อว่า "ไทระ โนะ คิโยะโมะริ" รับราชการเป็นทหารองค์รักษ์อยู่ในพระราชวัง ใน ค.ศ. 1146 ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ปกครองแคว้นอะกิ (安芸守) ทางตะวันตก จนกระทั่งในค.ศ. 1153 ทะดะโมะริผู้เป็นบิดาได้เสียชีวิตลง คิโยะโมะริจึงขึ้นเป็นโทเรียว (棟梁) หรือประมุขตระกูลไทระต่อมา

ไทระ คิโยะโมะริ สมรสกับบุตรสาวที่ไม่ทราบชื่อของทะกะชิโนะ โมะโตะอะกิ (高階基章) ซึ่งภรรยาเอกคนแรกนี้ได้เสียชีวิตไปก่อน มีบุตรชายสองคนคือ ไทระ โนะ ชิเงะโมะริ (平重盛) และ ไทระ โนะ โมะโตะโมะริ ต่อมาคิโยะโมะริได้สมรสใหม่กับ ไทระ โนะ โทะกิโกะ (平時子) บุตรสาวของไทระ โนะ โทะกิโนะบุ (平時信)

กบฎโฮเง็ง

การเผาตำหนักชิระกะวะ ช่วงกบฎโฮเง็ง

แม้ว่า จักรพรรดิโทะบะ (鳥羽法皇) จะทรงสละราชสมบัติไปแล้วแต่ยังทรงอำนาจการปกครองอยู่ตามระบอบการปกครองแบบ อินเซ (院政) ของช่วงปลายสมัยเฮย์อังซึ่งจักรพรรดิสละราชย์ทรงอำนาจสูงสุด จักรพรรดิโทะบะ-อิงทรงมีพระสนมองค์โปรดคือ ฟุจิวะระ โนะ นะริโกะ (藤原得子) หรือพระนางบิฟุกุมง (美福門院) และมีพระโอรสด้วยกัน อดีตจักรพรรดิโทะบะจึงทรงบังคับให้องค์จักรพรรดิซึ่งในขณะนั้นคือ จักรพรรดิซุโตะกุ (崇徳上皇) ให้สละราชสมบัติลงมากลายเป็น โจโก หรือ จักรพรรดิสละราชย์ แล้วให้พระโอรสที่เกิดแต่พระนางนะริโกะขึ้นเป็น จักรพรรดิโคะโนะเอะ ใน ค.ศ. 1142 แต่ทว่าจักรพรรดิโคะโนะเอะอยู่ในราชสมบัติได้สิบสามปีก็สวรรคตใน ค.ศ. 1155 ทำให้อดีตจักรพรรดิซุโตะกุ ทรงคาดหวังว่าราชบัลลังก์จะตกเป็นของพระโอรสคือเจ้าชายชิเงะฮิโตะ (重仁親王) แต่อดีตจักรพรรดิโทะบะ กลับทรงมอบราชสมบัติให้แก่พระโอรสอีกองค์หนึ่งขึ้นครองราชย์เป็น จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ สร้างความคับแค้นใจอย่างมากแก่อดีตจักรพรรดิซุโตะกุ

ในขณะเดียวกันนั้นเอง ในราชสำนักมีการแย่งชิงอำนาจระหว่าง ฟุจิวะระ โนะ ทะดะมิชิ (藤原忠通) ผู้สำเร็จราชการ กับน้องชายของตนคือ ฟุจิวะระ โนะ โยะรินะงะ (藤原頼長) ทะดะมิชิเข้าสนับสนุนจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ ในขณะที่โยะรินะงะสนับสนุนอดีตจักรพรรดิซุโตะกุ ในค.ศ. 1156 อดีตจักรพรรดิโทะบะสวรรคต เปิดโอกาสให้ทั้งสองฝ่ายเตรียมแผนการยึดอำนาจโดยการเกณฑ์กองกำลังทหารจากขุนนางซะมุไรในราชสำนักที่มีอยู่ ขุนพลของฝ่ายจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะประกอบด้วย ไทระ โนะ คิโยะโมะริ และโทเรียวหรือประมุขตระกูลเซวะเง็นจิ (清和源氏) คือ มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ (源義朝) แต่ทว่าไทระ โนะ ทะดะมะซะ (平忠正) ผู้เป็นอาของคิโยะโมะริกลับไปเข้าพวกกับฝ่ายของอดีตจักรพรรดิซุโตะกุ เกิดเป็นการปะทะกันเรียกว่า "กบฎโฮเง็ง" (保元の乱) ซึ่งเกิดขึ้นในปีโฮเง็งที่ 1 หรือ ค.ศ. 1156

ทัพของฝ่ายจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะตั้งอยู่ที่ตำหนักทะกะมะสึ (高松殿) โยะชิโตะโมะได้เสนอแผนการยกทัพโจมตีฝ่ายอดีตจักรพรรดิซุโตะกุที่ตำหนักชิระกะวะ (白河殿) ในเวลากลางคืนเพื่อให้ฝ่ายตรงข้ามไม่ทันตั้งตัว ทัพของคิโยะโมะริจึงยกไปในตอนกลางคืนเพื่อต่อสู้กับทะดะมะซะผู้เป็นอาของตนเอง จนได้รับชัยชนะสามารถเข้ายึดและเผาตำหนักชิระกะวะได้ อดีตจักรพรรดิซุโตะกุทรงถูกเนรเทศ โยะรินะงะเสียชีวิตในที่รบ และทะดะมะซะผู้เป็นอาถูกลงโทษประหารชีวิต โดยให้คิโยะโมะริเป็นผู้ลงมือตัดศีรษะด้วยตนเอง

กบฎเฮจิ

การขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ ทำให้ขุนนางข้ารับใช้คนสนิทของจักรพรรดิคือ พระภิกษุชินเซ (信西) ชื่อเดิมว่า ฟุจิวะระ โนะ มิชิโนะริ (藤原通憲) ขึ้นมามีอำนาจในราชสำนัก พระภิกษุชินเซให้การสนับสนุนคิโยะโมะริอย่างมาก โดยผลักดันให้คิโยะโมะริได้รับการแต่งตั้งเป็นดะไซ โนะ ไดนิ (大宰大弐) หรือผู้ปกครองเกาะคีวชู ในค.ศ. 1158 แต่การขึ้นสู่อำนาจของพระภิกษุชินเซสร้างความไม่พอใจแก่ขุนนางคนอื่นๆ โดยเฉพาะฟุจิวะระ โนะ โนะบุโยะริ (藤原信頼) อีกทั้งความก้าวหน้าในอาชีพของคิโยะโมะริยังสร้างความอิจฉาให้แก่มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ ซึ่งไม่ได้รับการปูนบำเหน็จเท่าที่ควรและดำรงตำแหน่งเป็นเพียงแค่คนเลี้ยงม้าในพระราชวัง

การเผาตำหนักซันโจ

ค.ศ. 1158 จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะทรงสละราชสมบัติให้พระโอรสขึ้นครองราชย์ต่อเป็นจักรพรรดินิโจ ค.ศ. 1160 ในขณะที่คิโยะโมะริได้เดินทางออกจากเมืองเฮอังเพื่อทำการคารวะสถานที่ศักดิ์สิทธิ์นอกเมือง ฟุจิวะระ โนะ โนะบุโยะริ จึงวางแผนร่วมกับ มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ ในการก่อการยึดอำนาจ โยะชิโตะโมะยกทัพเข้ายึดพระราชวังกุมองค์จักรพรรดินิโจไว้ และยกทัพเข้าโจมตีตำหนักซันโจ (三条殿) อันเป็นที่ประทับของอดีตจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ เข้าสังหารข้าราชบริพารของอดีตจักรพรรดิไปมากรวมถึงพระภิกษุชินเซด้วย แล้วจึงกุมองค์อดีตจักรพรรดิไว้

ฝ่ายคิโยะโมะริทราบข่าวเหตุการณ์ในเมืองเฮอังจึงรีบเดินทางกลับมา โดยแสร้งทำเป็นยอมจำนนต่อการยึดอำนาจของโนะบุโยะริและโยะชิโตะโมะ ในขณะเดียวกันได้จัดการให้จักรพรรดิทั้งสองพระองค์หลบหนีออกจากที่กุมขังออกมาได้สำเร็จ แล้วจึงส่งบุตรชายคนโตคือ ไทระ โนะ ชิเงะโมะริ ยกทัพเข้าโจมตีฝ่ายตระกูลมินะโมะโตะที่พระราชวัง จากนั้นจึงล่าถอยออกมาหลอกให้ทัพมินะโมะโตะติดตามมาจนถึงโระกุฮะระ (六波羅) อันเป็นที่อยู่ของตระกูลไทระ แล้วคิโยะโมะริจึงนำทัพเข้าโจมตีจนทัพฝ่ายมินะโมะโตะพ่ายแพ้ไป

โนะบุโยะริถูกสังหารที่รบ ส่วนโยะชิโตะโมะหลบหนีเข้าป่าไปถูกข้ารับใช้ของตนเองสังหาร คิโยะโมะริจึงทำการกวาดล้างตระกูลเซวะเง็นจิโดยการตัดสินประหารชีวิตเซวะเง็นจิทุกคนที่จับตัวได้ แต่ด้วยคำขอของนางอิเกะผู้เป็นมารดาเลี้ยง คิโยะโมะริได้ไว้ชีวิตบุตรชายของโยะชิโตะโมะคือ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ (源頼朝) ซึ่งถูกเนรเทศไปยังแคว้นอิซุทางตะวันออก รวมทั้งได้ไว้ชีวิตบุตรชายทั้งสามคนของโยะชิโตะโมะที่เกิดกับนางโทะกิวะ-โกเซ็ง (Tokiwa-Gōzen) โดยมีข้อแลกเปลี่ยนว่านางโทะกิวะจะต้องมาเป็นภรรยาน้อยของคิโยะโมะริ

เรืองอำนาจในราชสำนัก

เมื่อสิ้นสุดสงครามเฮจิแล้วทำให้คิโยะโมะริมีความดีความชอบมากขึ้นมากลายเป็นผู้มีอำนาจในราชสำนักเมืองเฮอัง ในค.ศ. 1161 น้องสะใภ้ของคิโยะโมะริคือ ไทระ โนะ ชิเงะโกะ (平滋子) ซึ่งเป็นน้องสาวของนางโทะกิโกะภรรยาเอกของคิโยะโมะริ ได้อภิเษกเป็นพระสนมพระองค์ใหม่ในอดีตจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ และประสูติพระโอรสให้แก่อดีตจักรพรรดิในปีเดียวกัน ทำให้จักรพรรดินิโจซึ่งยังไม่มีพระโอรสทรงเกรงว่าจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะจะทรงยกราชบัลลังก์ให้พระโอรสองค์ใหม่ ในปีเดียวกันนั้นคิโยะโมะริได้รับการแต่งตั้งเป็น ชูนะงง (中納言) นับว่าเป็นขุนนางระดับสูงหรือ คุเงียว (公卿) คนแรกในประวัติศาสตร์ที่มาจากชนชั้นซะมุไร เนื่องจากตระกูลไทระพำนักอยู่ที่เขตโระกุฮะระในเมืองเฮอัง คิโยะโมะริจึงได้รับฉายาตามที่อยู่ของตนว่า "ท่านโระกุฮะระ" (六波羅殿)

จักรพรรดินิโจมีพระโอรสในที่สุดเมื่อค.ศ. 1164 จึงทรงรีบชิงสละราชสมบัติให้แก่พระโอรสของพระองค์เอง ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิโระกุโจในค.ศ. 1165 แล้วจักรพรรดินิโจก็สวรรคตในปีเดียวกัน คิโยะโมะริได้รับการเลื่อนขั้นเป็นไดนะงง (大納言) และในปีต่อมาค.ศ. 1166 เป็น ไนไดจิง (内大臣) จนกระทั่งค.ศ. 1167 คิโยะโมะริขึ้นสู่ตำแหน่งสูงสุดในราชสำนักรองจากผู้สำเร็จราชการคือ ไดโจไดจิง (太政大臣) แต่ทว่าคิโยะโมะริอยู่ในตำแหน่งไดโจไดจิงได้เพียงสามเดือนก็ล้มป่วยลงจนต้องลาออกจากตำแหน่งและบรรพชาเป็นพระภิกษุ (ชาวญี่ปุ่นสมัยเฮอังเชื่อว่าหากบวชเป็นพระแล้วจะหายจากความเจ็บป่วย) จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะทรงเกรงว่าคิโยะโมะริจะถึงแก่อสัญกรรมและพระองค์จะสูญเสียอำนาจ จึงทรงบังคับให้จักรพรรดิโระกุโจสละราชสมบัติให้แก่พระโอรสของพระองค์ที่ประสูติแต่พระสนมชิเงะโกะ ขึ้นครองราชย์เป็น จักรพรรดิทะกะกุระในค.ศ. 1168 ต่อมาในค.ศ. 1172 คิโยะโมะริจึงส่งบุตรสาวของตนคือ ไทระ โนะ โทะกุโกะ (平徳子) เข้าอภิเษกเป็นจักรพรรดินีในจักรพรรดิทะกะกุระ และประสูติพระโอรสให้แด่จักรพรรดิในค.ศ. 1178

เมื่อจักรพรรดิืทะกะทุระขึ้นครองราชย์แล้วอดีตจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะทรงต้องการที่จะมีอำนาจในการปกครองแบบอินเซ แต่ทว่าคิโยะโมะริก็แสวงหาอิทธิพลเหนือจักรพรรดิองค์ใหม่เช่นกัน ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างคิโยะโมะริกับอดีตจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะต้องขาดสะบั้นลง ในค.ศ. 1177 ฟุจิวะระ โนะ นะริชิกะ (藤原成親) ข้ารับใช้คนสนิทของอดีตจักรพรรดิ ซึ่งเป็นน้องชายของภรรยาเอกของชิเงะโมะริ วางแผนโค่นอำนาจของตระกูลไทระที่เขตชิชิงะตะนิ (鹿ケ谷) ในเมืองเฮอัง แต่ทว่าหน่วยสืบราชการลับของคิโยะโมะริไปพบเข้า จึงมีการลงโทษขุนนางที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก นะริชิกะถูกเนรเทศและประหารชีวิตในเวลาต่อมา และทำให้คิโยะโมะริมีความแคลงใจในองค์อดีตจักรพรรดิอย่างมาก

ในค.ศ. 1164 คิโยะโมะริส่งบุตรสาวของตนอีกคนคือ ไทระ โนะ โมะริโกะ (平盛子) ไปสมรสกับผู้สำเร็จราชการฯ โคะโนะเอะ โมะโตะซะเนะ (Konoe Motozane) ซึ่งเป็นบุตรชายของฟุจิวะระ โนะ ทะดะมิชิ เมื่อผู้สำเร็จราชการโมะโตะซะเนะถึงแก่อสัญกรรมในค.ศ. 1166 คิโยะโมะริได้ใช้อิทธิพลของตนบังคับให้ทรัพย์สินมรดกของโมะโตะซะเนะตกเป็นของนางโมะริโกะแทนที่จะส่งต่อให้แก่บุตรชาย แต่เมื่อนางโมะริโกะเสียชีวิตในค.ศ. 1179 อดีตจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะทรงยึดเอาทรัพย์สินของนางโมริโกะที่ได้จากสามีเข้าราชสำนักทั้งหมด และในปีเดียวกันนั้นบุตรชายคนโตของคิโยะโมะริคือชิเงะโมะริได้ถึงแก่อสัญกรรมลง ทรัพย์สินของชิเงะโมะริก็ถูกริบไปทั้งหมดเช่นกัน ทำให้คิโยะโมะริไม่พอใจอย่างมาก จึงทำการยึดอำนาจจากอดีตจักรพรรดิในค.ศ. 1179 กุมขังงค์อดีตจักรพรรดิเอาไว้ รวมทั้งปลดขุนนางระดับสูงในราชสำนักเฮอังออกทั้งหมดตั้งแต่ผู้สำเร็จราชการลงมา แล้วแต่งตั้งขุนนางจากตระกูลไทระเข้าไปแทนที่ขุนนางเหล่านั้น

ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ

ในปีต่อมาค.ศ. 1180 คิโยะโมะริได้บังคับให้จักรพรรดิทะกะกุระทรงสละราชบัลลังก์ แล้วให้พระโอรสที่เกิดแต่จักรพรรดินีโทะกุโกะซึ่งมีพระชนมายุเพียงสองปี ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิอันโตะกุ เท่ากับว่าคิโยะโมะริมีศักดิ์เป็นพระอัยกา (ตา) ของจักรพรรดิ แล้วคิโยะโมะริจึงพาอดีตจักรพรรดิทะกะกุระเสด็จไปกราบไหว้ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ (厳島神社) ทางตะวันตกใกล้กับเมืิองฮิโรชิม่าในปัจจุบัน ซึ่งเป็นศาลเจ้าที่ตระกูลไทระให้การสนับสนุน แทนที่จะเป็นศาลเจ้าหลวงใกล้กับเมืองเฮอัง

สงครามเก็มเปและบั้นปลายชีวิต

ในค.ศ. 1180 ระหว่างที่คิโยะโมะริพาอดีตจักรพรรดิทะกะกุระเสด็จไปศาลเจ้าอิสึกุชิมะอยู่นั้น เจ้าชายโมะชิฮิโตะ (以仁王) พระโอรสอีกองค์หนึ่งของอดีตจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะซึ่งไม่พอใจการมีอำนาจของคิโยะโมะริ ร่วมมือกับ มินะโมะโตะ โนะ โยะริมะซะ (源頼政) ขุนพลอาวุโสแห่งตระกูลเซวะเง็นจิ ซึ่งเคยเปลี่ยนฝ่ายมาเข้ากับตระกูลไทระเมื่อครั้งสงครามเฮจิ ออกประกาศให้สมาชิกตระกูลเซวะเง็นจิที่ยังคงมีชีวิตอยู่ทั่วทั้งญี่ปุ่นลุกฮือขึ้นต่อต้านการปกครองของตระกูลไทระ เมื่อคิโยะโมะริทราบเรื่องจึงส่งทัพนำโดยบุตรชายคนที่สี่คือ ไทระ โนะ โทะโมะโมะริ (平知盛) และบุตรชายคนที่ห้าคือ ไทระ โนะ ชิเงะฮิระ (平重衡) ออกไปปราบกบฎที่เมืองเฮอัง ฝ่ายเจ้าชายโมะชิฮิโตะและโยะริมะซะได้หลบหนีออกจากเมือง แต่ถูกทัพของสองพี่น้องตระกูลไทระตามจนพบที่แม่น้ำอุจิได้ต่อสู้กันจนฝ่ายไทระได้รับชัยชนะ โยะริมะซะกระทำการเซ็ปปุกุเสียชีวิตและเจ้าชายโมะชิฮิโตะหลบหนีไปแต่ถูกจับองค์ได้และสำเร็จโทษในเวลาต่อมา

หลังจากปราบกบฎได้แล้วคิโยะโมะริได้ย้ายราชสำนักพร้อมทั้งจักรพรรดิอันโตะกุไปยังเมืองฟุกุฮะระ (福原) ทางตะวันตกในเขตที่เป็นเมืองโกเบในปัจจุบัน แต่ย้ายไปเป็นเวลาเพียงห้าเดือนจึงย้ายราชสำนักกลับมายังเมืองเฮอัง ในเวลาเดียวกันนั้น มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะมะ สามารถตั้งตัวเป็นใหญ่ได้ในภูมิภาคคันโตทางตะวันออก โดยมีที่มั่นที่เมืองคะมะกุระ คิโยะโมะริจึงส่งหลานชายคือ ไทระ โนะ โคะเระโมะริ (平維盛) บุตรชายของชิเงะโมะริ ยกทัพไปปราบโยะโระโตะโมะในค.ศ. 1181 แต่พ่ายแพ้อย่างราบคาบ ในปีเดียวกันอดีตจักรพรรดิทะกะกุระสวรรคต และอีกเพียงหนึ่งเดือนต่อมาคิโยะโมะริก็ได้ล้มป่วยลงจนถึงแก่อสัญกรรมด้วยอายุ 63 ปี โดยที่สงครามเก็มเป (源平合戦) ยังไม่สิ้นสุด

ยุทธนาวีดังโนะอุระ

เนื่องจากชิเงะโมะริบุตรชายคนโตได้เสียชีวิตไปก่อนเมื่อค.ศ. 1179 และโมะโตะโมะริบุตรชายคนที่สองเสียชีวิตเมื่อค.ศ. 1162 บุตรชายคนที่สามคือ ไทระ โนะ มุเนะโมะริ (平宗盛) จึงเป็นผู้สืบทอดตำแหน่งประมุขของตระกูลไทระต่อจากคิโยะโมะริผู้เป็นบิดา ตระกูลไทระภายใต้การนำของมุเนะโมะริยังคงดำเนินการต่อสู้กับตระกูลมินะโมะโตะในสงครามเก็มเปต่อไป จนกระทั่ง มินะโมะโตะ โนะ โยะชินะกะ (源義仲) ผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องของมินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ สามารถหักตีเอาเมืองเกียวโตได้ในค.ศ. 1183 มุเนะโมะริจึงพาสมาชิกตระกูลไทระและจักรพรรดิอันโตะกุอพยพหลบหนีไปยังเมืองยะชิมะ (屋島) บนเกาะชิโกกุ ต่อมาโยะชินะกะได้พ่ายแพ้ต่อมินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ บุตรชายของนางโทะกิวะซึ่งคิโยะโมะริได้เคยไว้ชีวิต โยะชิสึเนะได้ยกทัพมาล้อมเมืืองยะชิมะจนสามารถตีเมืองได้ในค.ศ. 1185 มุเนะโมะริจึงอพยพจักรพรรดิและสมาชิกตระกูลไทระลงเรือหนีไปทางตะวันตก โยะชิสึเนะยกทัพเรือติดตามมาจนเอาชนะทัพเรืองไทระได้ในยุทธนาวีดังโนะอุระ (壇ノ浦の戦い) สมาชิกตระกูลไทระเกือบทั้งหมดจึงกระโดดลงทะเลเสียชีวิตเพื่อหนีความพ่ายแพ้ โดยที่นางโทะกิโกะภรรยาเอกของคิโยะโมะริ ได้อุ้มจักรพรรดิอันโตะกุที่ทรงพระเยาว์กระโดดลงทะเลสวรรคตและเสียชีวิตทั้งคู่ เพียงสี่ปีหลังจากการอสัญกรรมของคิโยะโมะริ ตระกูลไทระก็ถึงแก่กาลอวสาน เปลี่ยนเป็นการปกครองของรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ

ครอบครัว

  • บิดา ไทระ โนะ ทะดะโมะริ (ค.ศ. 1096 - 1153) หรือจักรพรรดิชิระกะวะ
  • มารดา น้องสาวของคิอง-เนียวโง
  • พี่น้อง (บุตรของนางอิเกะ-โนะ-เซ็นนิ)
    • ไทระ โนะ อิเอะโมะริ (ค.ศ. 1123 - 1149)
    • ไทระ โนะ สึเนะโมะริ (ค.ศ. 1124 - 1185)
    • ไทระ โนะ โนะริโมะริ (ค.ศ. 1128 - 1185)
    • ไทระ โนะ โยะริโมะริ (ค.ศ. 1133 - 1186)
    • ไทระ โนะ ทะดะโนะริ (ค.ศ. 1144 - 1184)
  • ภรรยาเอกคนแรก: บุตรสาวของทะกะชิโนะ โมะโตะอะกิ
  • ภรรยาเอกคนที่สอง: ไทระ โนะ โทะกิโกะ (ค.ศ. 1126 - 1185) บุตรสาวของไทระ โนะ โทะกิโนะบุ


อ้างอิง

  • John Whitney Hall, Donald H. Shively, William H. McCullough. The Cambridge History of Japan Volume 2 Heian Japan. Cambridge University Press, 1999.

ข้อมูลเพิ่มเติม