ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงวน ตุลารักษ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweethaも (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''สงวน ตุลารักษ์''' (18 มิถุนายน พ.ศ. 2445 — 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักการเมืองไทยและสมาชิกผู้นำของ[[เสรีไทย]] สงวนสืบเชื้อสายมาจากชาวจีน โดยมีเทือกเถาเหล่ากอเป็นชาว[[แต้จิ๋ว]]<ref>{{cite book|title=Thailand's Secret War: The Free Thai, OSS, and SOE|url=http://books.google.com/books?id=AVOhMxaKF5EC|pages=122–3|author=E. Bruce Reynolds|origyear=2005|publisher=[[Cambridge University Press]]|isbn=0521836018}}</ref>
'''สงวน ตุลารักษ์''' (18 มิถุนายน พ.ศ. 2445 — 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักการเมืองไทยและสมาชิกผู้นำของ[[เสรีไทย]] นายสงวนสืบเชื้อสายมาจากชาวจีน โดยมีเทือกเถาเหล่ากอเป็นชาว[[แต้จิ๋ว]]<ref>{{cite book|title=Thailand's Secret War: The Free Thai, OSS, and SOE|url=http://books.google.com/books?id=AVOhMxaKF5EC|pages=122–3|author=E. Bruce Reynolds|origyear=2005|publisher=[[Cambridge University Press]]|isbn=0521836018}}</ref>


สงวนเป็นผู้ติดตาม[[ปรีดี พนมยงค์]]มาเป็นเวลานาน และเข้าร่วมกับกลุ่ม[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475]] หลังจากนั้น สงวนได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและประธานสำนักงานโรงงานยาสูบใน[[กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)|กระทรวงการคลัง]]
นายสงวนเป็นผู้ติดตามนาย [[ปรีดี พนมยงค์]] มาเป็นเวลานาน และเข้าร่วมกับกลุ่ม[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475]] หลังจากนั้น ได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและประธานสำนักงานโรงงานยาสูบใน[[กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)|กระทรวงการคลัง]]


ในปี พ.ศ. 2486 เขาได้เป็นผู้นำคณะผู้แทนที่ถูกส่งโดยผู้นำเสรีไทยเพื่อติดต่อกับ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]]ที่[[ฉงชิ่ง]] ความพยายามของเขาพิสูจน์แล้วว่ามีความสำคัญยิ่งในการรับเอาความช่วยเหลือของ[[สหราชอาณาจักร|อังกฤษ]]และ[[สหรัฐอเมริกา]]มาให้กับขบวนการเคลื่อนไหวใต้ดินดังกล่าว ซึ่งในไม่ช้า เสรีไทยก็มีอาวุธและยุทโธปกรณ์มากพอสำหรับปฏิบัติการกองโจรอย่างมีประสิทธิภาพ
ในปี พ.ศ. 2486 นายสงวนได้เป็นผู้นำคณะผู้แทนที่ถูกส่งโดยผู้นำเสรีไทยเพื่อติดต่อกับ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]]ที่[[ฉงชิ่ง]] ความพยายามของนายสงวนพิสูจน์แล้วว่ามีความสำคัญยิ่งในการรับเอาความช่วยเหลือของ[[สหราชอาณาจักร|อังกฤษ]]และ[[สหรัฐอเมริกา]]มาให้กับขบวนการเคลื่อนไหวใต้ดินดังกล่าว ซึ่งในไม่ช้า เสรีไทยก็มีอาวุธและยุทโธปกรณ์มากพอสำหรับปฏิบัติการกองโจรอย่างมีประสิทธิภาพ


ในปี พ.ศ. 2489 เขาได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำ[[สาธารณรัฐจีน]] เขาปฏิเสธที่จะเดินทางกลับ[[ประเทศไทย]]หลังจาก[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490]] โดยประกาศว่ารัฐธรรมนูญฉบับใหม่นั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย สงวนใช้เวลาอีกสิบปีถัดมาอาศัยอยู่ในจีน เขาเดินทางกลับประเทศไทยในปี พ.ศ. 2500 และถูกสั่งจำคุกโดยรัฐบาลจอมพล[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ก่อนจะได้รับการปล่อยตัวในปี พ.ศ. 2508
ในปี พ.ศ. 2489 ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำ[[สาธารณรัฐจีน]] และปฏิเสธที่จะเดินทางกลับ[[ประเทศไทย]]หลังจาก[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490]] โดยประกาศว่ารัฐธรรมนูญฉบับใหม่นั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย นายสงวนใช้เวลาอีกสิบปีถัดมาอาศัยอยู่ในจีน จึงเดินทางกลับประเทศไทยในปี พ.ศ. 2500 และถูกสั่งจำคุกโดยรัฐบาลจอมพล[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ก่อนจะได้รับการปล่อยตัวในปี พ.ศ. 2508


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


{{คณะราษฎร}}
{{เกิดปี|2445}}{{ตายปี|2538}}
{{เกิดปี|2445}}{{ตายปี|2538}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:20, 1 สิงหาคม 2555

สงวน ตุลารักษ์ (18 มิถุนายน พ.ศ. 2445 — 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักการเมืองไทยและสมาชิกผู้นำของเสรีไทย นายสงวนสืบเชื้อสายมาจากชาวจีน โดยมีเทือกเถาเหล่ากอเป็นชาวแต้จิ๋ว[1]

นายสงวนเป็นผู้ติดตามนาย ปรีดี พนมยงค์ มาเป็นเวลานาน และเข้าร่วมกับกลุ่มการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 หลังจากนั้น ได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและประธานสำนักงานโรงงานยาสูบในกระทรวงการคลัง

ในปี พ.ศ. 2486 นายสงวนได้เป็นผู้นำคณะผู้แทนที่ถูกส่งโดยผู้นำเสรีไทยเพื่อติดต่อกับฝ่ายสัมพันธมิตรที่ฉงชิ่ง ความพยายามของนายสงวนพิสูจน์แล้วว่ามีความสำคัญยิ่งในการรับเอาความช่วยเหลือของอังกฤษและสหรัฐอเมริกามาให้กับขบวนการเคลื่อนไหวใต้ดินดังกล่าว ซึ่งในไม่ช้า เสรีไทยก็มีอาวุธและยุทโธปกรณ์มากพอสำหรับปฏิบัติการกองโจรอย่างมีประสิทธิภาพ

ในปี พ.ศ. 2489 ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำสาธารณรัฐจีน และปฏิเสธที่จะเดินทางกลับประเทศไทยหลังจากรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 โดยประกาศว่ารัฐธรรมนูญฉบับใหม่นั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย นายสงวนใช้เวลาอีกสิบปีถัดมาอาศัยอยู่ในจีน จึงเดินทางกลับประเทศไทยในปี พ.ศ. 2500 และถูกสั่งจำคุกโดยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ก่อนจะได้รับการปล่อยตัวในปี พ.ศ. 2508

อ้างอิง

  1. E. Bruce Reynolds. Thailand's Secret War: The Free Thai, OSS, and SOE. Cambridge University Press. pp. 122–3. ISBN 0521836018.