ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิถีเมแทบอลิซึม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
ในทาง[[ชีวเคมี]] '''วิถีเมแทบอลิซึม''' ({{lang-en|metabolic pathway}}) เป็นชุดของ[[ปฏิกิริยาเคมี]]ที่เกิดขึ้นใน[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]] ในแต่ละวิถี สารเคมีหลักจะเกิดปฏิกิริยาเคมีและเปลี่ยนไปเป็นสารอื่น โดยมี[[เอนไซม์]]เป็น[[ตัวเร่งปฏิกิริยา]] และมักต้องอาศัยแร่ธาตุ [[วิตามิน]]และ[[โคแฟกเตอร์]]อื่น ๆ จึงจะดำเนินไปอย่างเหมาะสม เพราะมีสารเคมีจำนวนมาก ("เมแทบอไลต์") เข้ามาเกี่ยวข้อง วิถีเมแทบอลิซึมจึงอาจค่อนข้างซับซ้อน ยิ่งไปกว่านั้น วิถีซึ่งแตกต่างกันจำนวนมากเกิดร่วมกันในเซลล์ หมู่วิถีนี้เรียกว่า ''เครือข่ายเมแทบอลิซึม'' วิถีเมแทบอลิซึมสำคัญต่อการรักษา[[ภาวะธำรงดุล]] (homeostasis) ใน[[สิ่งมีชีวิต]] วิถี[[แคแทบอลิซึม]]และ[[แอแนบอลิซึม]]มักทำงานพึ่งพาอาศัยกันเพื่อสร้าง[[โมเลกุลชีวภาพ]]ใหม่เป็นผลิตภัณฑ์สุดท้าย
ในทาง[[ชีวเคมี]] '''เมตาโบลิก พาทเวย์''' ({{lang-en|Metabolic pathway}}) เป็นชุดของปฏิกิริยา[[เคมี]] ที่เกิดขึ้นใน[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]] โดยมี[[เอ็นไซม์]]เร่งปฏิกิริยา เป็นผลให้เกิดสารที่ได้จากกระบวนการเมตาโบลิซึม (metabolic product) เพื่อการใช้งานหรือเก็บสะสมในเซลล์ หรือกระตุ้นให้เกิดกระบวนการ[[การเผาผลาญ|เมตาโบลิก]] พาทเวย์ อื่นต่อไป (ซึ่งเรียกว่า ''ฟลักซ์ เจเนอริ่ง สเตป'' (flux generating step))

วิถีเมแทบอลิซึมเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสารตั้งต้นทีละขั้นเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์ที่ได้มานั้นสามารถนำไปใช้ได้สามทาง คือ
* นำไปใช้ทันที
* เป็นสารตั้งต้นในวิถีเมแทบอลิซึมอื่น เรียกว่า flux generating step
* เซลล์นำไปเก็บสะสมไว้

โมเลกุลที่เป็นสารตั้งต้นเข้าสู่วิถีเมแทบอลิซึมขึ้นอยู่กับความต้องการของเซลล์และการพร้อมใช้งานของสารตั้งต้น การเพิ่มความเข้มข้นของสารตัวกลางแอแนบอลิซึมและแคแทบอลิซึม และ/หรือ ผลิตภัณฑ์อาจส่งผลต่ออัตราเมแทบอลิซึมในแต่ละวิถีนั้น ๆ


== ทั่วไป ==
== ทั่วไป ==
เมตาโบลิก พาทเวย์ ส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติทั่วไปดังนี้:
วิถีเมแทบอลิซึมส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติทั่วไปดังนี้
* วิถีถูกควบคุมโดย [[การยับยั้งย้อนกลับ]] (feedback inhibition) หรืออาจเป็นวงจรที่ผลผลิตสุดท้ายไปเริ่มปฏิกิริยาใหม่อีกครั้ง เช่น [[วัฏจักรเครปส์]]
* เป็นปฏิกิริยาที่ไม่ย้อนกลับเพราะมันเป็นปฏิกิริยาที่แตกสะลายและมีการปลดปล่อยพลังงานออกมา จึงเป็นปฏิกิริยาทางเดียว
* วิถี[[แอแนบอลิซึม]]และ[[แคแทบอลิซึม]]ใน[[ยูแคริโอต]] จะถูกแยกโดย[[ออร์แกเนลล์]] หรือโดยการใช้เอ็นไซม์และโคแฟกเตอร์
* พาทเวย์ถูกควบคุมโดย [[การยับยั้งย้อนกลับ]] (feedback inhibition) หรืออาจเป็นวงจรที่ผลผลิตสุดท้ายไปเริ่มปฏิกิริยาใหม่อีกครั้ง เช่น [[กริ๊บ ไซเค]] (Krebs Cycle)
* [[อนาโบลิซึม|อนาโบลิก]] และ [[แคตาโบลิซึม|แคตาโบลิก]] พาทเวย์ ใน[[ยูแคริโอต]] จะถูกแยกโดย[[ออร์แกเนลล์]] หรือโดยการใช้เอ็นไซม์และโคแฟกเตอร์


== รายการวิถีเมแทบอลิซึม ==
== เมตาโบลิก พาทเวย์ ส่วนใหญ่ ==
=== การหายใจของเซลล์ ===
=== การหายใจระดับเซลล์ ===
{{บทความหลัก|การหายใจระดับเซลล์}}
''[[การหายใจของเซลล์]] (Cellular respiration) '' เมตาโบลิก พาทเวย์ ที่เกิดในเซลล์จะเป็นไปเพื่อสะลาย[[โมเลกุลพลังงาน]] (fuel molecule) ไปเป็น [[อะดีโนซีน ไตรฟอสเฟต|ATP]] เพื่อนำพลังงานไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ของเซลล์ ในรูปแบบต่าง ๆ ดังนี้:
เป็นวิถีเมแทบอลิซึมที่เกิดในเซลล์จะเป็นไปเพื่อสลาย[[โมเลกุลพลังงาน]] (fuel molecule) ไปเป็น [[อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต|ATP]] เพื่อนำพลังงานไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ของเซลล์
# [[ไกลโคไลสิส]] (Glycolysis)
# [[ไกลโคไลสิส]] (glycolysis)
# [[การหายใจแบบไม่ใช้อากาศ]] (Anaerobic respiration)
# [[การหายใจแบบไม่ใช้อากาศ]] (anaerobic respiration)
# [[กริ๊บ ไซเคิล]] (Krebs cycle) / [[ซิตริก ไซเคิล]] (Citric acid cycle)
# [[วัฏจักรเครปส์]] (Krebs cycle)
# [[ออกซิเดตีฟ ฟอสฟอริเรชั่น]] (Oxidative phosphorylation)
# [[ออกซิเดตีฟฟอสโฟรีเรชัน]] (Oxidative phosphorylation)


พาทเวย์อื่นที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิตมีดังนี้:
วิถีอื่นที่เกิดในสิ่งมีชีวิตมีดังนี้:
* [[แฟตตี้ แอซิด ออกซิเดชั่น]] (Fatty acid oxidation-β-oxidation)
* [[แฟตตีแอซิดออกซิเดชั่น]] (Fatty acid oxidation-β-oxidation)
* [[กลูโคนีโอเจนิสิส]] (Gluconeogenesis)
* [[การสร้างกลูโคส]] (Gluconeogenesis)
* [[เอชเอ็มจี-โคเอ รีดักเทส พาทเวย์]] (HMG-CoA reductase pathway) ([[isoprene]] โซ่พรีนิเลชั่น, ดู [[คอเลสเตอรอล]])
* [[วิถีเอชเอ็มจี-โคเอ รีดักเทส]] (HMG-CoA reductase pathway) ([[ไอโซพรีน]] โซ่พรีนิเลชั่น, ดู [[คอเลสเตอรอล]])
* [[เพนโตส ฟอสเฟต พาทเวย์]] (hexose monophosphate shunt)
* [[วิถีเพนโทสฟอสเฟต]] (hexose monophosphate shunt)
* [[พอร์ไฟริน]] ซินทีสิส (หรือ [[heme]] synthesis) พาทเวย์
* วิถีการสังเคราะห์[[พอร์ไฟริน]] (heme synthesis)
* [[วงจรยูเรีย]]
* [[วัฏจักรยูเรีย]]


การสร้างสารประกอบพลังงานจากสสารที่ไม่มีชีวิต:
การสร้างสารประกอบพลังงานจากสสารที่ไม่มีชีวิต:
บรรทัด 28: บรรทัด 35:


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[เมแทบอลิซึมของเซลล์]]
* [[Cell metabolism|catabolism]]


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:07, 28 กรกฎาคม 2555

ในทางชีวเคมี วิถีเมแทบอลิซึม (อังกฤษ: metabolic pathway) เป็นชุดของปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในเซลล์ ในแต่ละวิถี สารเคมีหลักจะเกิดปฏิกิริยาเคมีและเปลี่ยนไปเป็นสารอื่น โดยมีเอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และมักต้องอาศัยแร่ธาตุ วิตามินและโคแฟกเตอร์อื่น ๆ จึงจะดำเนินไปอย่างเหมาะสม เพราะมีสารเคมีจำนวนมาก ("เมแทบอไลต์") เข้ามาเกี่ยวข้อง วิถีเมแทบอลิซึมจึงอาจค่อนข้างซับซ้อน ยิ่งไปกว่านั้น วิถีซึ่งแตกต่างกันจำนวนมากเกิดร่วมกันในเซลล์ หมู่วิถีนี้เรียกว่า เครือข่ายเมแทบอลิซึม วิถีเมแทบอลิซึมสำคัญต่อการรักษาภาวะธำรงดุล (homeostasis) ในสิ่งมีชีวิต วิถีแคแทบอลิซึมและแอแนบอลิซึมมักทำงานพึ่งพาอาศัยกันเพื่อสร้างโมเลกุลชีวภาพใหม่เป็นผลิตภัณฑ์สุดท้าย

วิถีเมแทบอลิซึมเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสารตั้งต้นทีละขั้นเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์ที่ได้มานั้นสามารถนำไปใช้ได้สามทาง คือ

  • นำไปใช้ทันที
  • เป็นสารตั้งต้นในวิถีเมแทบอลิซึมอื่น เรียกว่า flux generating step
  • เซลล์นำไปเก็บสะสมไว้

โมเลกุลที่เป็นสารตั้งต้นเข้าสู่วิถีเมแทบอลิซึมขึ้นอยู่กับความต้องการของเซลล์และการพร้อมใช้งานของสารตั้งต้น การเพิ่มความเข้มข้นของสารตัวกลางแอแนบอลิซึมและแคแทบอลิซึม และ/หรือ ผลิตภัณฑ์อาจส่งผลต่ออัตราเมแทบอลิซึมในแต่ละวิถีนั้น ๆ

ทั่วไป

วิถีเมแทบอลิซึมส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติทั่วไปดังนี้

รายการวิถีเมแทบอลิซึม

การหายใจระดับเซลล์

เป็นวิถีเมแทบอลิซึมที่เกิดในเซลล์จะเป็นไปเพื่อสลายโมเลกุลพลังงาน (fuel molecule) ไปเป็น ATP เพื่อนำพลังงานไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ของเซลล์

  1. ไกลโคไลสิส (glycolysis)
  2. การหายใจแบบไม่ใช้อากาศ (anaerobic respiration)
  3. วัฏจักรเครปส์ (Krebs cycle)
  4. ออกซิเดตีฟฟอสโฟรีเรชัน (Oxidative phosphorylation)

วิถีอื่นที่เกิดในสิ่งมีชีวิตมีดังนี้:

การสร้างสารประกอบพลังงานจากสสารที่ไม่มีชีวิต:

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น