ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยายมราช (ครุฑ)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luangpaksi (คุย | ส่วนร่วม)
Luangpaksi (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 37: บรรทัด 37:
== ประวัติ ==
== ประวัติ ==


'''เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ)''' นามเดิม พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ครุฑ) หรือ พระยาชุมพร (ครุธ) หรือ พระยาเพชร เจ้าเมืองชุมพร ในปี พ.ศ. 2369-2397 เป็นบุตร พระยาวิชิตภักดีศรีพิชัยสงคราม(มี) เจ้า[[เมืองไชยา]] มีปู่ชื่อ [[พระยาชุมพร (พวย)]] เจ้า[[เมืองชุมพร]] มีพี่น้องร่วมมารดา 4 คน<ref>ศาสตราจารย์ จรุง ตุลยานนท์</ref>
'''เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ)''' นามเดิม พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ครุฑ) หรือ พระยาชุมพร (ครุธ) หรือ พระยาเพชร เจ้าเมืองชุมพร ในปี พ.ศ. 2369-2397 เป็นบุตร พระยาวิชิตภักดีศรีพิชัยสงคราม(มี) เจ้า[[เมืองไชยา]] มีปู่ชื่อ [[พระยาชุมพร (พวย)]] เจ้า[[เมืองชุมพร]] มีพี่น้องร่วมมารดา 4 คน<ref>ศาสตราจารย์ จรุง ตุลยานนท์</ref>
* เป็นคณะข้าหลวงเจรจาปักปันเขตแดนไทย-เขมร กับฝรั่งเศส ร่วมกับ พระยาเขมร พระยาปราจีนบุรี (นก)


== ผลงานขณะดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองชุมพร ==
== ผลงานขณะดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองชุมพร ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:24, 28 กรกฎาคม 2555

เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ)
เสนาบดีกรมเวียง
ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ดำรงตำแหน่ง
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2397 – พ.ศ. 2411
เจ้าเมืองชุมพร
ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ดำรงตำแหน่ง
พ.ศ. 2369 – 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2397
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด20 เมษายน พ.ศ. 2351[1]
วันพุธ เดือน 5 แรม 10 ค่ำ ปีมะโรง
เสียชีวิต- พ.ศ. 2437
ศาสนาพุทธ
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรสุริยุปราคาที่บ้านหว้ากอ เมืองประจวบคีรีขันธ์ พ.ศ. 2411 ทรงประทับ ณ เกยหน้าพลับพลาที่ประทับ โปรดให้ฉายพระรูปกับคณะแขกเมือง ณ ค่ายหลวงบ้านหว้ากอ
ไฟล์:ถนนเจริญกรุงในอดีต.jpg
ถนนเจริญกรุงในอดีต
ไฟล์:000ป.jpg
ถนนเจริญกรุงในปัจจุบัน
ไฟล์:เสียดินแดน.jpg
แผนที่การเสียดินแดนของไทย (หมายเลขที่ 2)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ) อดีต เสนาบดีกรมเวียง ที่ 3 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 และอดีตเจ้าเมืองชุมพร ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ทั้งยังเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง ถนนรอบพระบรมมหาราชวัง[2] (วัดพระแก้ว) ถนนเจริญกรุงตอนใน[3] สร้างตึกแถวขึ้นสองฝั่งถนนถวายแก่พระราชโอรสธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นตึกชั้นเดียว ถ่ายแบบมาจากประเทศสิงคโปร์[4] สร้างวัดสุบรรณนิมิตร และเป็น คณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า จะเห็นว่าในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เริ่มมีการปฏิรูปและพัฒนาประเทศครั้งใหญ่ ให้เป็นแบบยุโรปในหลายด้านโดยการจ้างชาวต่างชาติเข้ามาจัดการรูปแบบโครงสร้างในแต่ละหน่วย เช่น ทหาร ตำรวจ ข้าราชการพลเรือน คมนาคม การเก็บภาษีเพื่อทำถนนในพระนคร เป็นต้น

ประวัติ

เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ) นามเดิม พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ครุฑ) หรือ พระยาชุมพร (ครุธ) หรือ พระยาเพชร เจ้าเมืองชุมพร ในปี พ.ศ. 2369-2397 เป็นบุตร พระยาวิชิตภักดีศรีพิชัยสงคราม(มี) เจ้าเมืองไชยา มีปู่ชื่อ พระยาชุมพร (พวย) เจ้าเมืองชุมพร มีพี่น้องร่วมมารดา 4 คน[5]

ผลงานขณะดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองชุมพร

ผลงานขณะดำรงตำแหน่งเสนาบดีกรมเวียง

รายนามผู้ปกครองอาณานิคมสยามในเขตตะนาวศรี ภายใต้จักรวรรดิอังกฤษ

  • ลำดับ 1 หลวงปักษี (คลุ้ม บ่วงราบ) พ.ศ. 2411 - 2467
  • ลับดับ 2 นายคุ้ม บ่วงราบ หรือ สมพร พ.ศ. 2467 - 2489 ถูกนายแพ้ว อุ้ยนอง พร้อมพวกลูกน้องสังหาร ที่บ้านบ้องขอน
  • ลำดับ 3 นายแพ้ว อุ้ยนอง ถูก ร้อยตำรวจตรีเจริญ บ่วงราบ หัวหน้ากองกำลังผสมพลเรือนตำรวจทหาร (หน.พตท.) กว่า 100 นาย นำกำลังไล่ล่ายิงเสียชีวิต และมอบหมายให้นายชด ชมปุระ เป็นผู้ปกครอง
  • ลำดับ 4 นายชด ชมปุระ ถูกนายสร้วง ลอบสังหารกลางงานเลี้ยง
  • ลำดับ 5 นายหลง สักคุณี ก่อนปี พ.ศ. 2506 ถูกนายพันถอไซ ลอบสังหารที่บ้านนามะพร้าว
  • ลำดับ 6 นายสร้วง ประสมชิด พ.ศ. 2507 ถูกลูกน้องลอบสังหารที่บ้านเกิดในอำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
  • ลำดับ 7 นายพันถอไซ เริ่มปกครอง พ.ศ. 2508 หัวหน้ากลุ่มกะเหรี่ยงเสรี ออกจากราชการตำรวจพม่าจัดตั้งใหม่ เข้าปกครองแต่คนไทยบางส่วนยังไม่กลับเข้าประเทศไทย
  • ลำดับ 8 นายบาเฮา บุตร นายพันถอไซ การปกครองสิ้นสุด พ.ศ. 2535

อาณานิคมสยามในเขตตะนาวศรี ในจักรวรรดิอังกฤษ[18] ได้รับเอกราชแล้ว เช่นเดียวกับประเทศมาเลเชีย ประเทศสิงคโปร์ แต่เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 จอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ขอความร่วมมือตีย่างกุ้งกับกองทัพญี่ปุ่น ทำให้อังกฤษและพม่าไม่พอใจ ในปี พ.ศ. 2492 รัฐบาลพม่าได้ระดมกำลังทหารเข้ายึดและปกครองเมืองมะริด ทะวาย และตะนาวศรี ต่อมาได้มีการกวาดล้างชนกลุ่มน้อยจนทำให้กะเหรี่ยงเสรีต้องอยู่ตามแนวชายแดนไทย-พม่า ส่วนคนไทยต้องอพยพเข้าประเทศไทยตั้งแต่นั้นมา และผู้อพยพกลับหลังจาก พ.ศ. 2520 จะเป็นคนไทยไม่มีบัตรประชาชน หรือ ที่เรียกว่า ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี, เขตตะนาวศรี

อ้างอิง

  1. วิจารณ์ดวงชะตา 200 ดวง : 171
  2. ภาพเก่าในสยาม : 66
  3. ภาพเก่าในสยาม : 71
  4. ภาพเก่าในสยาม : 71
  5. ศาสตราจารย์ จรุง ตุลยานนท์
  6. การนับปีปฏิทินเดิมนับ 1 เมษายน - 31 มีนาคม ดังนั้น พ.ศ. 2366 ในช่วงเดือนมกราคม - มีนาคม ก็คือ พ.ศ. 2367 ปัจจุบัน
  7. จดหมายหลวงอุดมสมบัติ : 153
  8. ประวัติวัดสุบรรณนิมิตร
  9. มะลิวัลย์ พม่าเรียกมะลิยุน สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพเรียกมะลิวัน
  10. จดหมายหลวงอุดมสมบัติ : 371
  11. พระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัว รัชกาลที่ 4
  12. ภาพเก่าในสยาม : 66
  13. นายพันตำรวจโท ฟอร์ตี (C.H. Forty) : A Sketch of Siam's Gendarmerie
  14. ย่ำถนนยลถิ่นจีน : 11
  15. วารสาร "นครบาลวันนี้" , พ.ต.ท.ยอดชาย ผู้สันติ รอง ผกก.2 บก.จร.
  16. Imperial Gazetteer of India 5:297
  17. Scott 1999: 115
  18. Imperial Gazetteer of India 5:297

แหล่งข้อมูล

  • เปิดตำนาน วีรบุรูษนักรบแห่งคอคอดกระ ดินแดนสองฝั่งทะเล ตอน เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ)
  • จดหมายเหตุหลวงอุดมสมบัติ (จัน)
  • วิจารณ์ดวงชะตา 200 ดวง
  • ภาพเก่าในสยาม
  • ย่ำถนนยลถิ่นจีน
  • ตำแหน่งยศท่านเจ้าพระยาเสนาบดี 54 นาม ตั้งแต่สร้างกรุงเทพฯ ถึงร้อยปี (พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2425)
  • A Sketch of Siam's Gendarmerie
  • Imperial Gazetteer of India
  • Scott 1999

แหล่งข้อมูลอื่น