ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หอยแครง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
}}
}}


'''หอยแครง''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Blood Cockle, [[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: ''Anadara granosa'') เป็นหอยจำพวก[[หอยฝาคู่|กาบคู่]] ความยาวประมาณ 6-7 [[เซนติเมตร]]
'''หอยแครง''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Blood cockle; [[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: ''Anadara granosa'') เป็นหอยจำพวก[[หอยฝาคู่|กาบคู่]] ความยาวประมาณ 6-7 [[เซนติเมตร]]


* ถิ่นอาศัย : พื้นท้องทะเล[[ชายฝั่ง]]ตื้น ๆ ที่เป็น[[โคลน]]หรือโคลนเหลว ใน[[น่านน้ำไทย]]พบมากที่จังหวัด[[ชลบุรี]], [[เพชรบุรี]], [[สุราษฎร์ธานี]], [[ปัตตานี]]
* ถิ่นอาศัย: พื้นท้องทะเล[[ชายฝั่ง]]ตื้น ๆ ที่เป็น[[โคลน]]หรือโคลนเหลว ใน[[น่านน้ำไทย]]พบมากที่จังหวัด[[ชลบุรี]], [[เพชรบุรี]], [[สุราษฎร์ธานี]], [[ปัตตานี]]
* อาหาร : พวก[[ไดอะตอม]], [[แพลงก์ตอน|แพลงก์ตอนพืช]] และแพลงก์ตอนสัตว์บางชนิด
* อาหาร: พวก[[ไดอะตอม]], [[แพลงก์ตอน|แพลงก์ตอนพืช]] และแพลงก์ตอนสัตว์บางชนิด


== ความสำคัญทางเศรษฐกิจ==
== ความสำคัญทางเศรษฐกิจ==
บรรทัด 31: บรรทัด 31:
==ดูเพิ่ม==
==ดูเพิ่ม==
*[[หอยคราง]]
*[[หอยคราง]]
{{commonscat|Anadara granosa}}

==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
*[http://guru.sanook.com/search/%E0%B8%AB%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87/ หอยแครงจาก[[สนุกดอตคอม]]]
*[http://guru.sanook.com/search/%E0%B8%AB%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87/ หอยแครงจาก[[สนุกดอตคอม]]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:50, 13 กรกฎาคม 2555

หอยแครง
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Mollusca
ชั้น: Bivalvia
ชั้นย่อย: Pteriomorphia
อันดับ: Arcoida
วงศ์: Arcidae
สกุล: Anadara
สปีชีส์: A.  granosa
ชื่อทวินาม
Anadara granosa
(L., 1758)

หอยแครง (อังกฤษ: Blood cockle; ชื่อวิทยาศาสตร์: Anadara granosa) เป็นหอยจำพวกกาบคู่ ความยาวประมาณ 6-7 เซนติเมตร

ความสำคัญทางเศรษฐกิจ

หอยแครงเป็นหอยสองฝาอีกชนิดหนึ่งที่เป็นสัตว์เศรษฐกิจในประเทศไทย โดยเนื้อใช้รับประทานเป็นอาหารที่ให้โปรตีน นิยมนำไปปรุงด้วยการเผาหรือลวก ส่วนเปลือกใช้ทำเครื่องประดับของชำร่วย หรือ บดผสมลงในอาหารไก่ และยังทำเป็นปูนได้อีกต่างหาก [1]

กรมประมงจึงมีการส่งเสริมให้เกษตรกรเพาะเลี้ยงเป็นสัตว์เศรษฐกิจ นิยมเลี้ยงกันอยู่ที่แถบจังหวัดสมุทรสงคราม, เพชรบุรี, สุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช, ภูเก็ต, สตูล และปัตตานี

นิรุกติศาสตร์เปรียบเทียบ

สันนิษฐานว่าคำว่า "แครง" หรือ "คราง" นั้นมาจากภาษาชวา-มลายู ที่เรียกหอยจำพวกหอยแครงและหอยครางว่า "เคอรัง" หรือ "ครัง" (Kerang, Krang) จึงเพี้ยนเป็นแครงกับครางในที่สุด[2]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. การทำปูนจากเปลือกหอย
  2. หน้า 108, แฟนหอยพันธุ์แท้ โดย จอม ปัทมคันธิน (นนทบุรี, 2555) ISBN 978-616904682-0