ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชการ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 171.4.114.214 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย MerlIwBot
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
[[ไฟล์:Emblem thailand garuda4.png|thumb|120px|right|ตราพระครุฑพ่าห์ สำหรับใช้เป็นตราหัวหนังสือราชการไทย (แบบที่นิยมใช้กันมาก)]]
[[ไฟล์:Emblem thailand garuda4.png|thumb|120px|right|ตราพระครุฑพ่าห์ สำหรับใช้เป็นตราหัวหนังสือราชการไทย (แบบที่นิยมใช้กันมาก)]]


'''ระบบราชการในประเทศไทย''' เป็นระบบการทำงานหลักควบคู่ไปกับ ระบบ[[เอกชน]] และ[[รัฐวิสาหกิจ]] ข้าราชการ มีหลายประเภท เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้าราชการการเมือง ข้าราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ ข้าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีพนักงานราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น พนักงานมหาวิทยาลัย ซึ่งมีลักษณะการทำงานที่คล้ายคลึงกันกับข้าราชการ ตรภาคตรีภาควีภาคตรีอภิตรีภาคภูมิไอ้แว่นจมูกอับปรีภาคภูมิ
'''ระบบราชการในประเทศไทย''' เป็นระบบการทำงานหลักควบคู่ไปกับ ระบบ[[เอกชน]] และ[[รัฐวิสาหกิจ]] ข้าราชการ มีหลายประเภท เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้าราชการการเมือง ข้าราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ ข้าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีพนักงานราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น พนักงานมหาวิทยาลัย ซึ่งมีลักษณะการทำงานที่คล้ายคลึงกันกับข้าราชการ


==ตามพระราชทาน==
==ตามพระราชทาน==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:48, 30 มิถุนายน 2555

ราชการ (สำหรับประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) หรือ รัฐการ (สำหรับประเทศที่ไม่ได้มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) เป็นระบบการทำงานอย่างหนึ่งของรัฐ หมายถึง การงานของพระมหากษัตริย์หรือรัฐบาล รวมไปถึงของทหารและตำรวจซึ่งอาจเรียกแยกเฉพาะว่า "ราชการฝ่ายทหาร" หรือ "รัฐการฝ่ายทหาร" แล้วแต่กรณี

ราชการของไทย

ไฟล์:Emblem thailand garuda4.png
ตราพระครุฑพ่าห์ สำหรับใช้เป็นตราหัวหนังสือราชการไทย (แบบที่นิยมใช้กันมาก)

ระบบราชการในประเทศไทย เป็นระบบการทำงานหลักควบคู่ไปกับ ระบบเอกชน และรัฐวิสาหกิจ ข้าราชการ มีหลายประเภท เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้าราชการการเมือง ข้าราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ ข้าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีพนักงานราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น พนักงานมหาวิทยาลัย ซึ่งมีลักษณะการทำงานที่คล้ายคลึงกันกับข้าราชการ

ตามพระราชทาน

ราชการในประเทศไทยมีสัญลักษณ์ในเอกสารเป็นรูป "ครุฑ" (ครุฑพ่าห์) เป็นสัญลักษณ์หมายถึงพระราชบัลลังก์ และตราประจำแผ่นดินของไทย ใช้ประทับบนหัวจดหมายราชการ การบริหารราชการขึ้นอยู่แต่ละส่วนราชการ ภายใต้พระราชบัญญัติบริหารส่วนราชการแต่ละส่วน เช่น พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน มีระเบียบบริหารราชการ อัตราเงินเดือนค่าจ้างค่าตอบแทนเป็นบัญชีต่างๆกันไป อีกทั้งมีการกำหนดเกณฑ์การเลื่อนลำดับชั้น งานหนังสือและสารบรรณ การเกษียณอายุ การเชิดชูเกียรติ เช่น การติดยศ การรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ที่เฉพาะต่างกันไป งบประมาณ ที่ใช้ในระบบราชการ ส่วนหนึ่งมาจากงบประมาณแผ่นดินซึ่งนำจากการเก็บภาษีจากประชาชน

ดูเพิ่ม

รายการอ้างอิง