ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาหรับ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
RedBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต แก้ไข: lij:Popolo arabo
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: ckb:عەرەب; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 14: บรรทัด 14:


[[หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชีย]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชีย]]

{{Link FA|ar}}
{{Link FA|ar}}
{{Link GA|yi}}
{{Link GA|yi}}
บรรทัด 33: บรรทัด 34:
[[bs:Arapi]]
[[bs:Arapi]]
[[ca:Àrabs]]
[[ca:Àrabs]]
[[ckb:عەرەب]]
[[cs:Arabové]]
[[cs:Arabové]]
[[cy:Arabiaid]]
[[cy:Arabiaid]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:56, 24 มิถุนายน 2555

กลุ่มประเทศอาหรับ

อาหรับ (อาหรับ: عربي, ʿarabi พหูพจน์ العرب al-ʿarab, อังกฤษ: Arab) คือบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีชาติพันธุ์ พูดภาษา หรือมีวัฒนธรรมที่เรียกว่า “อาหรับ”[1][2]

ภาษาอาหรับเป็นภาษาที่เก่ากว่าวัฒนธรรมอาหรับที่เริ่มเผยแพร่ในตะวันออกกลางตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2 เมื่ออาหรับคริสเตียนเช่นกาสนาวิยะห์ ลักห์มิยะห์ และ Banu Judham เริ่มโยกย้ายเข้าไปตั้งถิ่นฐานในทะเลทรายซีเรียและในบริเวณลว้าน[3][4] ภาษาอาหรับเพิ่มความสำคัญมากขึ้นพร้อมกับการรุ่งเรืองของศาสนาอิสลามในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ในการเป็นภาษาของอัลกุรอาน และวัฒนธรรมอาหรับก็เริ่มเผยแพร่ออกไปพร้อมกับการขยายดินแดนของอิสลาม[5]

อ้างอิง

  1. Encyclopedia of the Orient
  2. Francis Mading Deng, War of Visions: Conflict of Identities in the Sudan , Published 1995, Brookings Institution Press, p. 405, via Google Books [1]
  3. Banu Judham migration
  4. Ghassanids Arabic linguistic influence in Syria
  5. Islam and the Arabic language


แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA