ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยาสชา ไฮเฟตซ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต เพิ่ม: vi:Jascha Heifetz
Pradinu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
'''ยาสชา ไฮเฟตซ์''' ({{lang-lt|Jascha Heifetzas}}) เป็นนักไวโอลินชาวยิวรัสเซีย-ลิทัวเนีย ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่ในสหรัฐอเมริกา และโอนสัญชาติเป็นชาวอเมริกัน ไฮเฟตซ์ได้รับการยกย่องเป็นอัจฉริยะ เป็นหนึ่งในนักไวโอลินที่ดีที่สุดตลอดกาล <ref>Kennedy, Michael and Joyce Bourne. [http://books.google.com/books?id=y0b0_CQATAIC&pg=PA331&dq=%22greatest+violinists%22+heifetz&hl=en&ei=oeBgTKaiBZD4sAPsl_iWCA&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=12&ved=0CHIQ6AEwCw#v=onepage&q=%22greatest%20violinists%22%20heifetz&f=false ''The Concise Oxford Dictionary of Music''.] Oxford University Press, 2004. p. 331.</ref><ref>[http://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,828985,00.html "The Best Violinists."] ''[[Time (magazine)|Time]]''. February 2, 1962.</ref><ref>Wallechinsky, David and Amy Wallace. ''The New Book of Lists''. Canongate, 2005. p. 94.</ref>
'''ยาสชา ไฮเฟตซ์''' ({{lang-lt|Jascha Heifetzas}}) เป็นนักไวโอลินชาวยิวรัสเซีย-ลิทัวเนีย ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่ในสหรัฐอเมริกา และโอนสัญชาติเป็นชาวอเมริกัน ไฮเฟตซ์ได้รับการยกย่องเป็นอัจฉริยะ เป็นหนึ่งในนักไวโอลินที่ดีที่สุดตลอดกาล <ref>Kennedy, Michael and Joyce Bourne. [http://books.google.com/books?id=y0b0_CQATAIC&pg=PA331&dq=%22greatest+violinists%22+heifetz&hl=en&ei=oeBgTKaiBZD4sAPsl_iWCA&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=12&ved=0CHIQ6AEwCw#v=onepage&q=%22greatest%20violinists%22%20heifetz&f=false ''The Concise Oxford Dictionary of Music''.] Oxford University Press, 2004. p. 331.</ref><ref>[http://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,828985,00.html "The Best Violinists."] ''[[Time (magazine)|Time]]''. February 2, 1962.</ref><ref>Wallechinsky, David and Amy Wallace. ''The New Book of Lists''. Canongate, 2005. p. 94.</ref>


ไฮเฟตซ์เกิดในครอบครัวชาวยิวที่เมือง[[วิลนุส]] ใน[[จักรวรรดิรัสเซีย]] ปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของ[[ลิทัวเนีย]] บิดาเป็นครูสอนไวโอลินและคอรเสิร์ตมาสเตอร์ของวงดนตรีออร์เคสตราแห่งเมืองวิลนุส ซึ่งเป็นครูดนตรีคนแรกของเขาตั้งแต่อายุ 4 ปี ไฮเฟตซ์แสดงศักยภาพทางดนตรีให้เห็นมาตั้งแต่เด็ก และได้เข้าศึกษาต่อที่สถาบันดนตรีแห่งกรุง[[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]]ตั้งแต่อายุ 9 ปี โดยเป็นลูกศิษย์ของ[[ลีโอโปลด์ อาวเออร์]] และเริ่มตระเวนแสดงในยุโรปตั้งแต่อายุ 12 ปี
ไฮเฟตซ์เกิดในครอบครัวชาวยิวที่เมือง[[วิลนุส]] ใน[[จักรวรรดิรัสเซีย]] ปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของ[[ลิทัวเนีย]] บิดาเป็นครูสอนไวโอลินและหัวหน้าวงออร์เคสตราแห่งเมืองวิลนุส ซึ่งเป็นครูดนตรีคนแรกของเขาตั้งแต่อายุ 4 ปี ไฮเฟตซ์แสดงความสามารถทางดนตรีให้เห็นมาตั้งแต่เด็ก และได้เข้าศึกษาต่อที่สถาบันดนตรีแห่งกรุง[[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]]ตั้งแต่อายุ 9 ปี โดยเป็นลูกศิษย์ของ[[ลีโอโปลด์ อาวเออร์]] และเริ่มตระเวนแสดงในยุโรปตั้งแต่อายุ 12 ปี


ไฮเฟตซ์มีโอกาสได้แสดงในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่อายุ 16 ปี โดยเปิดตัวที่[[คาร์เนกีฮอลล์]]เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1917 และประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูงจากการบันทึกเสียงกับค่าย[[อาร์ซีเอ วิคเตอร์]] และ[[เดคคา เรเคิดส์]]
ไฮเฟตซ์มีโอกาสได้แสดงในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่อายุ 16 ปี โดยเปิดตัวที่[[คาร์เนกีฮอลล์]]เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1917 และประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูงจากการบันทึกเสียงกับค่าย[[อาร์ซีเอ วิคเตอร์]] และ[[เดคคา เร็คคอร์ดส์]]


ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1972 ไฮเฟตซ์มีอาการบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นบริเวณไหล่ขวา ซึ่งเป็นผลมาจากการเล่นไวโอลิน เขาเข้ารับการผ่าตัดแต่ก็ส่งผลให้ไม่สามารถยกแขนซ้ายได้สูงเหมือนแต่ก่อน จึงเลิกตระเวนแสดงดนตรีและบันทึกแผ่นเสียง หันมาเป็นครูสอนดนตรีที่[[มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส]] และ[[มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์เนีย]] ตั้งแต่ปี 1982 เขาเลิกสอนที่มหาวิทยาลัยเหลือเพียงชั้นเรียนส่วนตัวที่บ้านของเขาใน[[เบเวอร์ลีฮิลส์]]
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1972 ไฮเฟตซ์มีอาการบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นบริเวณไหล่ขวา ซึ่งเป็นผลมาจากการเล่นไวโอลิน เขาเข้ารับการผ่าตัดแต่ก็ส่งผลให้ไม่สามารถยกแขนซ้ายได้สูงเหมือนแต่ก่อน จึงเลิกตระเวนแสดงดนตรีและบันทึกแผ่นเสียง หันมาเป็นครูสอนดนตรีที่[[มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส]] และ[[มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์เนีย]] ตั้งแต่ปี 1982 เขาเลิกสอนที่มหาวิทยาลัยเหลือเพียงชั้นเรียนส่วนตัวที่บ้านของเขาใน[[เบเวอร์ลีฮิลส์]]
บรรทัด 42: บรรทัด 42:
[[หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายรัสเซีย]]
[[หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายรัสเซีย]]
[[หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายลิทัวเนีย]]
[[หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายลิทัวเนีย]]
[[หมวดหมู่:ศิลปินสังกัดเดคคาเรเคิดส์]]
[[หมวดหมู่:ศิลปินสังกัดเดคคาเร็คคอร์ดส์]]
[[หมวดหมู่:ศิลปินสังกัดอาร์ซีเอวิคเตอร์]]
[[หมวดหมู่:ศิลปินสังกัดอาร์ซีเอวิคเตอร์]]
[[หมวดหมู่:นักดนตรีคลาสสิก]]
[[หมวดหมู่:นักดนตรีคลาสสิก]]
{{lifetime|1901|1987|ฮไเฟตซ์}}
{{lifetime|1901|1987|ไฮเฟตซ์}}
{{โครงดนตรี}}
{{โครงดนตรี}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:53, 24 มิถุนายน 2555

ยาสชา ไฮเฟตซ์

ยาสชา ไฮเฟตซ์ (ลิทัวเนีย: Jascha Heifetzas) เป็นนักไวโอลินชาวยิวรัสเซีย-ลิทัวเนีย ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่ในสหรัฐอเมริกา และโอนสัญชาติเป็นชาวอเมริกัน ไฮเฟตซ์ได้รับการยกย่องเป็นอัจฉริยะ เป็นหนึ่งในนักไวโอลินที่ดีที่สุดตลอดกาล [1][2][3]

ไฮเฟตซ์เกิดในครอบครัวชาวยิวที่เมืองวิลนุส ในจักรวรรดิรัสเซีย ปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของลิทัวเนีย บิดาเป็นครูสอนไวโอลินและหัวหน้าวงออร์เคสตราแห่งเมืองวิลนุส ซึ่งเป็นครูดนตรีคนแรกของเขาตั้งแต่อายุ 4 ปี ไฮเฟตซ์แสดงความสามารถทางดนตรีให้เห็นมาตั้งแต่เด็ก และได้เข้าศึกษาต่อที่สถาบันดนตรีแห่งกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กตั้งแต่อายุ 9 ปี โดยเป็นลูกศิษย์ของลีโอโปลด์ อาวเออร์ และเริ่มตระเวนแสดงในยุโรปตั้งแต่อายุ 12 ปี

ไฮเฟตซ์มีโอกาสได้แสดงในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่อายุ 16 ปี โดยเปิดตัวที่คาร์เนกีฮอลล์เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1917 และประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูงจากการบันทึกเสียงกับค่ายอาร์ซีเอ วิคเตอร์ และเดคคา เร็คคอร์ดส์

ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1972 ไฮเฟตซ์มีอาการบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นบริเวณไหล่ขวา ซึ่งเป็นผลมาจากการเล่นไวโอลิน เขาเข้ารับการผ่าตัดแต่ก็ส่งผลให้ไม่สามารถยกแขนซ้ายได้สูงเหมือนแต่ก่อน จึงเลิกตระเวนแสดงดนตรีและบันทึกแผ่นเสียง หันมาเป็นครูสอนดนตรีที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส และมหาวิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์เนีย ตั้งแต่ปี 1982 เขาเลิกสอนที่มหาวิทยาลัยเหลือเพียงชั้นเรียนส่วนตัวที่บ้านของเขาในเบเวอร์ลีฮิลส์

นอกเหนือจากดนตรีคลาสสิกแล้ว ไฮเฟตซ์ยังชื่นชอบดนตรีแจ๊ส และยังแต่งเพลงแจ๊สชื่อ "When You Make Love to Me (Don't Make Believe)" โดยใช้นามแฝงว่า Jim Hoyl [4] ขับร้องโดยบิง ครอสบี

อ้างอิง

  1. Kennedy, Michael and Joyce Bourne. The Concise Oxford Dictionary of Music. Oxford University Press, 2004. p. 331.
  2. "The Best Violinists." Time. February 2, 1962.
  3. Wallechinsky, David and Amy Wallace. The New Book of Lists. Canongate, 2005. p. 94.
  4. When you make love to me (don't make believe)

แหล่งข้อมูลอื่น