ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไตรสิกขา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
# '''อธิปัญญาสิกขา''' คือศึกษาเรื่องปัญญาอบรมตนให้เกิดปัญญาแจ่มแจ้ง ได้แก่การบำเพ็ญ[[วิปัสสนากรรมฐาน]]ของผู้ได้ฌานแล้วจนได้บรรลุ[[วิชชา|วิชชา 8]] คือเป็น[[พระอรหันต์]]
# '''อธิปัญญาสิกขา''' คือศึกษาเรื่องปัญญาอบรมตนให้เกิดปัญญาแจ่มแจ้ง ได้แก่การบำเพ็ญ[[วิปัสสนากรรมฐาน]]ของผู้ได้ฌานแล้วจนได้บรรลุ[[วิชชา|วิชชา 8]] คือเป็น[[พระอรหันต์]]
ควย
ควย

==อ้างอิง==
*[[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด,'' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548

[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ|ตไตรสิกขา]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ|ตไตรสิกขา]]
[[หมวดหมู่:ธรรมหมวด ๓]]

[[en:Threefold Training]]
[[hu:A hármas gyakorlat (buddhizmus)]]
[[vi:Tam học]]
[[zh:三無漏學]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:12, 24 มิถุนายน 2555

ไตรสิกขา แปลว่า สิกขา 3 หมายถึงข้อสำหรับศึกษา, การศึกษาข้อปฏิบัติที่พึงศึกษา, การฝึกฝนอบรมตนในเรื่องที่พึงศึกษา 3 อย่างคือ

  1. อธิสีลสิกขา คือศึกษาเรื่องศีล อบรมปฏิบัติให้ถูกต้องดีงาม ให้ถูกต้องตามหลักจุลศีล มัชฌิมศีล และมหาศีล ตลอดถึงปฏิบัติอยู่ในหลัก มัชฌิมศีล และมหาศีล ตลอดถึงปฏิบัติอยู่ในหลักอินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ และสันโดษ
  2. อธิจิตตสิกขา คือศึกษาเรื่องจิต อบรมจิตให้สงบมั่นคงเป็นสมาธิ ได้แก่การบำเพ็ญสมถกรรมฐานของผู้สมบูรณ์ด้วยอริยศีลขันธ์จนได้บรรลุฌาน 4
  3. อธิปัญญาสิกขา คือศึกษาเรื่องปัญญาอบรมตนให้เกิดปัญญาแจ่มแจ้ง ได้แก่การบำเพ็ญวิปัสสนากรรมฐานของผู้ได้ฌานแล้วจนได้บรรลุวิชชา 8 คือเป็นพระอรหันต์

ควย