ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกาะสวาท หาดสวรรค์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
rv
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ภาพยนตร์
{{กล่องข้อมูล ภาพยนตร์
| name = เกาะสวาทหาดสวรรค์ (Paradise Island)
| name = เกาะสวาท หาดสวรรค์ (Paradise Island)
| image = เกาะสวาทหาดสวรรค์.jpg
| image = เกาะสวาทหาดสวรรค์.jpg
| caption =
| caption =
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
}}
}}


'''''เกาะสวาทหาดสวรรค์''''' ภาพยนตร์ไทยแนวรักตลก ระบบ 35 มม.ซูเปอร์ซีเนสโคป สีอีสต์แมน เสียงในฟิล์ม โดยบริษัทละโว้ภาพยนตร์ [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ]] ทรงพระนิพนธ์เรื่องและกำกับการแสดง (รวมทั้งลำดับภาพด้วยพระนาม "อนุสร"และ cameo บทนักดนตรีกีตาร์) นำแสดงโดย [[สมบัติ เมทะนี]] และ [[อรัญญา นามวงศ์]]<ref>http://www.thaifilmdb.com/th/tt01400</ref> ถ่ายทำส่วนใหญ่ที่[[เกาะสมุย]] จ.[[สุราษฏร์ธานี]]
'''''เกาะสวาท หาดสวรรค์''''' ภาพยนตร์ไทยแนวรักตลก ระบบ 35 มม.ซูเปอร์ซีเนสโคป สีอีสต์แมน โดยบริษัทละโว้ภาพยนตร์ [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ]] ทรงพระนิพนธ์เรื่องและกำกับการแสดง (รวมทั้งลำดับภาพด้วยพระนาม "อนุสร"และ cameo บทนักดนตรีกีตาร์) นำแสดงโดย [[สมบัติ เมทะนี]] และ [[อรัญญา นามวงศ์]]<ref>http://www.thaifilmdb.com/th/tt01400</ref> ถ่ายทำส่วนใหญ่ที่[[เกาะสมุย]] จ.[[สุราษฏร์ธานี]]


ฉายครั้งแรกที่โรงภาพยนตร์เฉลิมเขตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2512 นานราวสองเดือนเศษ เป็น"หนังทำเงิน"(เมื่อ 40 กว่าปีก่อน) อีกเรื่องหนึ่งของละโว้ ที่ประสบความสำเร็จตามสโลแกน "หวานชื่น ครื้นเครง เพลงเพราะ" <ref>กรอบโฆษณาภาพยนตร์ "เกาะสวาทหาดสวรรค์" หนังสือพิมพ์รายวัน กพ.- เมย.2512</ref>แม้จะค่อนข้างยาวถึงสองชั่วโมงครึ่ง หลังจากนั้นผู้สร้างได้นำมาจัดรวมในสัปดาห์หนังยอดนิยม 3 เรื่อง 3 รสของละโว้ภาพยนตร์ (เงิน เงิน เงิน ,อีแตน ,เกาะสวาท หาดสวรรค์) เป็นโปรแกรมพิเศษประจำปี ที่เฉลิมเขตร์ <ref>กรอบโฆษณาภาพยนตร์ 3 เรื่อง 3 รสของละโว้ภาพยนตร์ หนังสือพิมพ์รายวัน 2513-2515</ref> ต่อมาได้ดัดแปลงทำใหม่ เป็น[[ละครโทรทัศน์]]ในปี พ.ศ. 2539 โดย[[ดาราวิดีโอ]] กำกับโดย [[สยาม สังวริบุตร]] นำแสดงโดย [[สมชาย เข็มกลัด]], [[สุทธิดา เกษมสันต์ ณ อยุธยา]], [[สุวัจนี ไชยมุสิก]], [[อนันต์ บุนนาค]], [[จตุรงค์ โกลิมาศ]], [[ชาช่า อัลเทอร์เมท]], [[สมบัติ เมทะนี]] ,[[อรัญญา นามวงศ์]] และ [[มานพ อัศวเทพ]]<ref>http://news.sanook.com/entertain/entertain_212566.php</ref>
ฉายครั้งแรกที่โรงภาพยนตร์เฉลิมเขตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2512 นานราวสองเดือนเศษ เป็น"หนังทำเงิน"(เมื่อ 40 กว่าปีก่อน) อีกเรื่องหนึ่งของละโว้ ที่ประสบความสำเร็จตามสโลแกน "หวานชื่น ครื้นเครง เพลงเพราะ" <ref>กรอบโฆษณาภาพยนตร์ "เกาะสวาทหาดสวรรค์" หนังสือพิมพ์รายวัน กพ.- เมย.2512</ref>แม้จะค่อนข้างยาวถึงสองชั่วโมงครึ่ง หลังจากนั้นผู้สร้างได้นำมาจัดรวมในสัปดาห์หนังยอดนิยม 3 เรื่อง 3 รสของละโว้ภาพยนตร์ (เงิน เงิน เงิน ,อีแตน ,เกาะสวาท หาดสวรรค์) เป็นโปรแกรมพิเศษประจำปี ที่เฉลิมเขตร์ <ref>กรอบโฆษณาภาพยนตร์ 3 เรื่อง 3 รสของละโว้ภาพยนตร์ หนังสือพิมพ์รายวัน 2513-2515</ref> ต่อมาได้ดัดแปลงทำใหม่ เป็น[[ละครโทรทัศน์]]ในปี พ.ศ. 2539 โดย[[ดาราวิดีโอ]] กำกับโดย [[สยาม สังวริบุตร]] นำแสดงโดย [[สมชาย เข็มกลัด]], [[สุทธิดา เกษมสันต์ ณ อยุธยา]], [[สุวัจนี ไชยมุสิก]], [[อนันต์ บุนนาค]], [[จตุรงค์ โกลิมาศ]], [[ชาช่า อัลเทอร์เมท]], [[สมบัติ เมทะนี]] ,[[อรัญญา นามวงศ์]] และ [[มานพ อัศวเทพ]]<ref>http://news.sanook.com/entertain/entertain_212566.php</ref>


== เรื่องย่อ ==
== เรื่องย่อ ==
เพลย์บอยหนุ่มนาม เผดิมพงศ์ (สมบัติ เมทะนี) ที่พ่อ แม่ ส่งไปเรียนต่างประเทศก็เรียนไม่จบ เพราะมัวแต่รักสนุก โดยมี มณเฑียร เป็นคู่หู จนสุดท้าย ขุนโภคกิจ ผู้เป็นพ่อ ต้องการดัดนิสัยด้วยการส่งไปดูแลกิจการที่ เกาะสวาท เผดิมพงศ์ จำต้องไปทั้งที่ไม่เต็มใจนัก ที่นั่นเขาได้พบกับ นภาพร (อรัญญา นามวงศ์) และตกหลุมรักเธอในวินาทีแรก แต่ครอบครัวของ นภาพร และ เผดิมพงศ์ นั้นไม่ถูก กันมาตั้งแต่รุ่นพ่อ ทั้งคู่จึงต้องกลายเป็นไม้เบื่อไม้เมา
เรื่องราวของ เพลย์บอยหนุ่มนาม เผดิมพงศ์ (สมบัติ เมทะนี) ที่พ่อ แม่ ส่งไปเรียนต่างประเทศก็เรียนไม่จบ เพราะมัวแต่รักสนุก โดยมี มณเฑียร เป็นคู่หู จนสุดท้าย ขุนโภคกิจ ผู้เป็นพ่อ ต้องการดัดนิสัยด้วยการส่งไปดูแลกิจการที่ เกาะสวาท เผดิมพงศ์ จำต้องไปทั้งที่ไม่เต็มใจนัก ที่นั่นเขาได้พบกับ นภาพร (อรัญญา นามวงศ์) และตกหลุมรักเธอในวินาทีแรก แต่ครอบครัวของ นภาพร และ เผดิมพงศ์ นั้นไม่ถูก กันมาตั้งแต่รุ่นพ่อ ทั้งคู่จึงต้องกลายเป็นไม้เบื่อไม้เมา


== เกร็ดเบื้องหลัง ==
== เกร็ดเบื้องหลัง ==


* คำพูดของนางเอกในฉากสนทนากับพระเอกครั้งแรกที่หัวเรือ ขึ้นต้นว่า "รูปแร้งดูร่างร้าย รุงรัง...." เป็นคติสอนใจว่าไม่ควรดูคนแค่ภายนอกนำมาจาก[[โคลงโลกนิติ]] ส่วนคำพูด "สู้ สู้ สู้ สู้ซิวะ ไอ้หาญ" ในฉากเพลง "พวกเราเอากับมัน" เป็นคำพูดติดปากคนไทยในอดีตที่พูดถึงนักมวยหน้าพระที่นั่งชื่อดังแห่งสยามชื่อ นายหาญ และคำร้องว่า "...ถนนคอนกรีตไม่มีต้นไม้ ไม่เห็นมีใครมาบรรเทา" ในฉากเพลง "ชีวิตนี้เป็นของใคร" พระองค์ชายเล็กทรงประทานสัมภาษณ์ทางโทรทัศน์ว่าต้องการสะท้อนความสนใจด้านสิ่งแวดล้อมในบ้านเมืองเราสมัยนั้น <ref>รายการไท-ทัศน์ สถานีโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 7(ขาวดำ),2512</ref>
คำพูดของนางเอกในฉากสนทนากับพระเอกครั้งแรกที่หัวเรือ ขึ้นต้นว่า "รูปแร้งดูร่างร้าย รุงรัง...." เป็นคติสอนใจว่าไม่ควรดูคนแค่ภายนอกนำมาจาก[[โคลงโลกนิติ]] ส่วนคำพูด "สู้ สู้ สู้ สู้ซิวะ ไอ้หาญ" ในฉากเพลง "พวกเราเอากับมัน" เป็นคำพูดติดปากคนไทยในอดีตที่พูดถึงนักมวยหน้าพระที่นั่งชื่อดังแห่งสยามชื่อ นายหาญ และคำร้องว่า "...ถนนคอนกรีตไม่มีต้นไม้ ไม่เห็นมีใครมาบรรเทา" ในฉากเพลง "ชีวิตนี้เป็นของใคร" พระองค์ชายเล็กทรงประทานสัมภาษณ์ทางโทรทัศน์ว่าต้องการสะท้อนความสนใจด้านสิ่งแวดล้อมในบ้านเมืองเราสมัยนั้น <ref>รายการไทยทรรศน์ สถานีโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 7(ขาวดำ),2512</ref>


* สมบัติ เมทะนี และ อรัญญา นามวงษ์ ร้องเพลงด้วยเสียงตนเอง ด้านนักพากย์มืออาชีพมี [[สมพงษ์ วงศ์รักไทย]] [[จุรี โอศิริ]] และ [[ม.ล.รุจิรา- มารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา]] เป็นต้น ( [[มารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา]] ดารา-นักพากย์ และ [[ท้วม ทรนง]] ดาวตลก พากย์เสียงตนเองลงฟิล์ม [[ม.ล.รุจิรา อิศรางกูร]] [[อบ บุญติด]] [[มนัส บุณยเกียรติ]] และ [[รุจน์ รณภพ]] ทั้งพากย์และร้องด้วยเสียงตนเอง ) ส่วน [[ศรีสละ ทองธารา]] ดาวตลกหญิงร่างอ้วน ในฉากเพลง ใช้เสียงของ [[สุดา ชื่นบาน]] นักร้องอาชีพ
สมบัติ เมทะนี และ อรัญญา นามวงษ์ ร้องเพลงด้วยเสียงตนเอง ด้านนักพากย์มืออาชีพมี [[สมพงษ์ วงศ์รักไทย]] [[จุรี โอศิริ]] และ [[ม.ล.รุจิรา- มารศรี อิศรางกูร]] เป็นต้น ( [[ม.ล.รุจิรา อิศรางกูร]] [[อบ บุญติด]] [[มนัส บุณยเกียรติ]] และ [[รุจน์ รณภพ]] พากย์และร้องด้วยเสียงตนเอง ) ส่วน [[ศรีสละ ทองธารา]] ดาราตลกหญิงร่างอ้วน ในฉากเพลง ใช้เสียงของ [[สุดา ชื่นบาน]] นักร้องอาชีพ นอกจากนั้น [[มารศรี อิศรางกูร]] ดารา-นักพากย์ และ [[ท้วม ทรนง]] ดาราตลก พากย์เสียงตนเองลงฟิล์ม


* สาวระบำฮาวาย ในฉากงานประจำปีริมหาด เป็นนักแสดงคณะฟูจีโชว์ของนายสุข ที่มีชื่อเป็นตำนานย่าน[[เยาวราช]] ซึ่งมีชื่อปรากฏในไตเติ้ลด้วย ฉากในไนท์คลับ มีดาราอาวุโส(ไม่ใส่ชื่อในไตเติ้ล) ได้แก่ [[ม.ร.ว.ประสิทธิ์ศักดิ์ พูนสวัสดิ์]] (นั่งร่วมโต๊ะกับตัวประกอบ) และ [[ม.จ.จุลเจิม ยุคล]] พระโอรสขององค์ผู้กำกับการแสดง (นั่งร่วมโต๊ะกับ ทานทัต วิภาตะโยธิน)
สาวระบำฮาวาย ในฉากงานประจำปีริมหาด เป็นนักแสดงคณะฟูจีโชว์ของนายสุข ที่มีชื่อเป็นตำนานย่าน[[เยาวราช]] ซึ่งมีชื่อปรากฏในไตเติ้ลด้วย ฉากในไนท์คลับมี cameo (ไม่ใส่ชื่อในไตเติ้ล) ได้แก่ [[ม.ร.ว.ประสิทธิ์ศักดิ์ พูนสวัสดิ์]] ดาราชายอาวุโส (นั่งร่วมโต๊ะกับตัวประกอบ) และ [[ม.จ.จุลเจิม ยุคล]] พระโอรสขององค์ผู้กำกับการแสดง (นั่งร่วมโต๊ะกับ ทานทัต วิภาตะโยธิน)


* ตอนหนึ่งของภาพยนตร์ใช้เทคนิคซ้อนภาพแบบพื้นหลังสีน้ำเงิน (Blue Screen Effects / Chroma Key) ขนาดเต็มจอและเฮลิคอปเตอร์จำลองขนาดใหญ่ 2 ลำ มีนักบินกำลังขับเครื่องด้านบนและเหล่าดาราโผล่ออกมาทะเลาะกันด้านล่างสำหรับฉากที่เห็นเพียงไม่ถึงนาที นอกจากภาพซ้อนเห็นเครื่องระยะไกลบนฟ้าก่อนและหลังช๊อตนี้ในสไตล์ตลกแบบหนังการ์ตูน ซึ่งไม่เคยมีในงานสร้างภาพยนตร์ไทยมาก่อน <ref>วีดิทัศน์และดีวีดีภาพยนตร์ "เกาะสวาทหาดสวรรค์" มูลนิธิหนังไทยในพระอุปถัมภ์ของพระองค์เจ้าอนุสรฯ 2543 และ 2552 ตามลำดับ</ref>
ตอนหนึ่งของภาพยนตร์ใช้เทคนิคซ้อนภาพแบบพื้นหลังสีน้ำเงิน (Blue Screen Effects / Chroma Key) ขนาดเต็มจอและเฮลิคอปเตอร์จำลองขนาดใหญ่ 2 ลำ มีนักบินกำลังขับเครื่องด้านบนและเหล่าดาราโผล่ออกมาทะเลาะกันด้านล่างสำหรับฉากที่เห็นเพียงไม่ถึงนาที นอกจากภาพซ้อนเห็นเครื่องระยะไกลบนฟ้าก่อนและหลังช๊อตนี้ในสไตล์ตลกแบบหนังการ์ตูน ซึ่งไม่เคยมีในงานสร้างภาพยนตร์ไทยมาก่อน <ref>วีดิทัศน์และดีวีดีภาพยนตร์ "เกาะสวาทหาดสวรรค์" มูลนิธิหนังไทยในพระอุปถัมภ์ของพระองค์เจ้าอนุสรฯ 2543 และ 2552 ตามลำดับ</ref>


* [[ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล]] (ไม่ใส่ชื่อในไตเติ้ล) ทำงานเบื้องหลังกองถ่ายภาพยนตร์ <ref>ภาพเบื้องหลังการถ่ายทำประกอบเรื่องย่อภาพยนตร์ เกาะสวาทหาดสวรรค์ นิตยสารดาราภาพ ปี 13 ฉบับที่ 2 ม.ค. 2512 </ref>
[[ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล]] (ไม่ใส่ชื่อในไตเติ้ล) ทำงานเบื้องหลังกองถ่ายภาพยนตร์ <ref>ภาพเบื้องหลังการถ่ายทำประกอบเรื่องย่อภาพยนตร์ เกาะสวาทหาดสวรรค์ นิตยสารดาราภาพ ปี 13 ฉบับที่ 2 ม.ค. 2512 </ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:20, 21 มิถุนายน 2555

เกาะสวาท หาดสวรรค์
ไฟล์:เกาะสวาทหาดสวรรค์.jpg
กำกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ
เขียนบทพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ
อำนวยการสร้างหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา
นักแสดงนำสมบัติ เมทะนี
อรัญญา นามวงศ์
เมตตา รุ่งรัตน์
รุจน์ รณภพ
สุมาลี ทองหล่อ
อนุชา รัตนมาลย์
อบ บุญติด
มนัส บุณยเกียรติ
ม.ล.รุจิรา-มารศรี
กำกับภาพโสภณ จงเสถียร
ตัดต่ออนุสร
ดนตรีประกอบพระองค์เจ้าอนุสรฯ
แก้วฟ้า (แก้ว อัจฉริยะกุล)
พรานบูรณ์
สง่า อารัมภีร
สุรัฐ พุกกะเวส
สมาน กาญจนะผลิน
แมนรัตน์ ศรีกรานนท์
ทำนองพม่ารำขวาน
บริษัทผู้สร้าง
ละโว้ภาพยนตร์
ผู้จัดจำหน่ายละโว้ภาพยนตร์และเอวันฟิล์ม
วันฉายพ.ศ. 2512
ความยาว153 นาที
ประเทศไทย
ภาษาไทย
ทำเงิน2,500,000 บาทเศษ
ต่อจากนี้วิวาห์พาฝัน
ข้อมูลจากฐานข้อมูลภาพยนตร์ไทย

เกาะสวาท หาดสวรรค์ ภาพยนตร์ไทยแนวรักตลก ระบบ 35 มม.ซูเปอร์ซีเนสโคป สีอีสต์แมน โดยบริษัทละโว้ภาพยนตร์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ทรงพระนิพนธ์เรื่องและกำกับการแสดง (รวมทั้งลำดับภาพด้วยพระนาม "อนุสร"และ cameo บทนักดนตรีกีตาร์) นำแสดงโดย สมบัติ เมทะนี และ อรัญญา นามวงศ์[1] ถ่ายทำส่วนใหญ่ที่เกาะสมุย จ.สุราษฏร์ธานี

ฉายครั้งแรกที่โรงภาพยนตร์เฉลิมเขตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2512 นานราวสองเดือนเศษ เป็น"หนังทำเงิน"(เมื่อ 40 กว่าปีก่อน) อีกเรื่องหนึ่งของละโว้ ที่ประสบความสำเร็จตามสโลแกน "หวานชื่น ครื้นเครง เพลงเพราะ" [2]แม้จะค่อนข้างยาวถึงสองชั่วโมงครึ่ง หลังจากนั้นผู้สร้างได้นำมาจัดรวมในสัปดาห์หนังยอดนิยม 3 เรื่อง 3 รสของละโว้ภาพยนตร์ (เงิน เงิน เงิน ,อีแตน ,เกาะสวาท หาดสวรรค์) เป็นโปรแกรมพิเศษประจำปี ที่เฉลิมเขตร์ [3] ต่อมาได้ดัดแปลงทำใหม่ เป็นละครโทรทัศน์ในปี พ.ศ. 2539 โดยดาราวิดีโอ กำกับโดย สยาม สังวริบุตร นำแสดงโดย สมชาย เข็มกลัด, สุทธิดา เกษมสันต์ ณ อยุธยา, สุวัจนี ไชยมุสิก, อนันต์ บุนนาค, จตุรงค์ โกลิมาศ, ชาช่า อัลเทอร์เมท, สมบัติ เมทะนี ,อรัญญา นามวงศ์ และ มานพ อัศวเทพ[4]

เรื่องย่อ

เรื่องราวของ เพลย์บอยหนุ่มนาม เผดิมพงศ์ (สมบัติ เมทะนี) ที่พ่อ แม่ ส่งไปเรียนต่างประเทศก็เรียนไม่จบ เพราะมัวแต่รักสนุก โดยมี มณเฑียร เป็นคู่หู จนสุดท้าย ขุนโภคกิจ ผู้เป็นพ่อ ต้องการดัดนิสัยด้วยการส่งไปดูแลกิจการที่ เกาะสวาท เผดิมพงศ์ จำต้องไปทั้งที่ไม่เต็มใจนัก ที่นั่นเขาได้พบกับ นภาพร (อรัญญา นามวงศ์) และตกหลุมรักเธอในวินาทีแรก แต่ครอบครัวของ นภาพร และ เผดิมพงศ์ นั้นไม่ถูก กันมาตั้งแต่รุ่นพ่อ ทั้งคู่จึงต้องกลายเป็นไม้เบื่อไม้เมา

เกร็ดเบื้องหลัง

คำพูดของนางเอกในฉากสนทนากับพระเอกครั้งแรกที่หัวเรือ ขึ้นต้นว่า "รูปแร้งดูร่างร้าย รุงรัง...." เป็นคติสอนใจว่าไม่ควรดูคนแค่ภายนอกนำมาจากโคลงโลกนิติ ส่วนคำพูด "สู้ สู้ สู้ สู้ซิวะ ไอ้หาญ" ในฉากเพลง "พวกเราเอากับมัน" เป็นคำพูดติดปากคนไทยในอดีตที่พูดถึงนักมวยหน้าพระที่นั่งชื่อดังแห่งสยามชื่อ นายหาญ และคำร้องว่า "...ถนนคอนกรีตไม่มีต้นไม้ ไม่เห็นมีใครมาบรรเทา" ในฉากเพลง "ชีวิตนี้เป็นของใคร" พระองค์ชายเล็กทรงประทานสัมภาษณ์ทางโทรทัศน์ว่าต้องการสะท้อนความสนใจด้านสิ่งแวดล้อมในบ้านเมืองเราสมัยนั้น [5]

สมบัติ เมทะนี และ อรัญญา นามวงษ์ ร้องเพลงด้วยเสียงตนเอง ด้านนักพากย์มืออาชีพมี สมพงษ์ วงศ์รักไทย จุรี โอศิริ และ ม.ล.รุจิรา- มารศรี อิศรางกูร เป็นต้น ( ม.ล.รุจิรา อิศรางกูร อบ บุญติด มนัส บุณยเกียรติ และ รุจน์ รณภพ พากย์และร้องด้วยเสียงตนเอง ) ส่วน ศรีสละ ทองธารา ดาราตลกหญิงร่างอ้วน ในฉากเพลง ใช้เสียงของ สุดา ชื่นบาน นักร้องอาชีพ นอกจากนั้น มารศรี อิศรางกูร ดารา-นักพากย์ และ ท้วม ทรนง ดาราตลก พากย์เสียงตนเองลงฟิล์ม

สาวระบำฮาวาย ในฉากงานประจำปีริมหาด เป็นนักแสดงคณะฟูจีโชว์ของนายสุข ที่มีชื่อเป็นตำนานย่านเยาวราช ซึ่งมีชื่อปรากฏในไตเติ้ลด้วย ฉากในไนท์คลับมี cameo (ไม่ใส่ชื่อในไตเติ้ล) ได้แก่ ม.ร.ว.ประสิทธิ์ศักดิ์ พูนสวัสดิ์ ดาราชายอาวุโส (นั่งร่วมโต๊ะกับตัวประกอบ) และ ม.จ.จุลเจิม ยุคล พระโอรสขององค์ผู้กำกับการแสดง (นั่งร่วมโต๊ะกับ ทานทัต วิภาตะโยธิน)

ตอนหนึ่งของภาพยนตร์ใช้เทคนิคซ้อนภาพแบบพื้นหลังสีน้ำเงิน (Blue Screen Effects / Chroma Key) ขนาดเต็มจอและเฮลิคอปเตอร์จำลองขนาดใหญ่ 2 ลำ มีนักบินกำลังขับเครื่องด้านบนและเหล่าดาราโผล่ออกมาทะเลาะกันด้านล่างสำหรับฉากที่เห็นเพียงไม่ถึงนาที นอกจากภาพซ้อนเห็นเครื่องระยะไกลบนฟ้าก่อนและหลังช๊อตนี้ในสไตล์ตลกแบบหนังการ์ตูน ซึ่งไม่เคยมีในงานสร้างภาพยนตร์ไทยมาก่อน [6]

ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล (ไม่ใส่ชื่อในไตเติ้ล) ทำงานเบื้องหลังกองถ่ายภาพยนตร์ [7]

อ้างอิง

  1. http://www.thaifilmdb.com/th/tt01400
  2. กรอบโฆษณาภาพยนตร์ "เกาะสวาทหาดสวรรค์" หนังสือพิมพ์รายวัน กพ.- เมย.2512
  3. กรอบโฆษณาภาพยนตร์ 3 เรื่อง 3 รสของละโว้ภาพยนตร์ หนังสือพิมพ์รายวัน 2513-2515
  4. http://news.sanook.com/entertain/entertain_212566.php
  5. รายการไทยทรรศน์ สถานีโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 7(ขาวดำ),2512
  6. วีดิทัศน์และดีวีดีภาพยนตร์ "เกาะสวาทหาดสวรรค์" มูลนิธิหนังไทยในพระอุปถัมภ์ของพระองค์เจ้าอนุสรฯ 2543 และ 2552 ตามลำดับ
  7. ภาพเบื้องหลังการถ่ายทำประกอบเรื่องย่อภาพยนตร์ เกาะสวาทหาดสวรรค์ นิตยสารดาราภาพ ปี 13 ฉบับที่ 2 ม.ค. 2512