ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมัยเฮลลาดิค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
Kowito (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
คำว่า "เฮลลาดิค" "ไซคลาดิค" และ "มิโนอัน" หมายถึงสถานที่ของที่มา ฉะนั้น สิ่งของจากมิโนอันสมัยกลางจึงอาจจะพบได้ที่ไซคลาดีส แต่ไม่ถือว่าเป็นไซคลาดีสสมัยกลาง การจัดระบบดังกล่าวมักจะไม่เหมาะกับบริเวณรอบทะเลอีเจียน เช่นเครื่องปั้นดินเผาลว้านเป็นต้นที่เลียนแบบเครื่องปั้นดินเผาเฮลลาดิคหรือมิโนอัน และผลิตในท้องถิ่น
คำว่า "เฮลลาดิค" "ไซคลาดิค" และ "มิโนอัน" หมายถึงสถานที่ของที่มา ฉะนั้น สิ่งของจากมิโนอันสมัยกลางจึงอาจจะพบได้ที่ไซคลาดีส แต่ไม่ถือว่าเป็นไซคลาดีสสมัยกลาง การจัดระบบดังกล่าวมักจะไม่เหมาะกับบริเวณรอบทะเลอีเจียน เช่นเครื่องปั้นดินเผาลว้านเป็นต้นที่เลียนแบบเครื่องปั้นดินเผาเฮลลาดิคหรือมิโนอัน และผลิตในท้องถิ่น


สมัยเฮลลาดิคหมายถึงกรีกช่วงยุคสัมฤทธิ์ เป็นอารยธรรมโบราณที่ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งของวิทยาการความรู้ต่างๆ ซึ่งนักวิชาการบางฝ่ายก็เรียกว่า วัฒนธรรมเฮลลาดิค ({{lang-en|Helladic Culture}}) เพราะมองว่ายังมิใช่ช่วงที่เจริญมากพอ ช่วงเวลานั้นเองยังมี[[กรุงทรอย]]ที่ขณะนั้นยังไม่ล้มสลายอยู่ด้วยตามตำนานและเกิด[[สงครามกรุงทรอย]]โดยในตอนนั้น[[กรุงทรอย]]มี นักรบที่แกร่งกล้านามว่า เฮกเตอร์ ส่วนนักรบของ[[กรีก]]คือ อาคีลิส โดยทั้งสองสู้รบเป็นเวลายาวนาน อาคีลิสได้ท้าดวลกับเฮกเตอร์ หน้ากรุงทรอยเฮกเตอร์จะสั่งให้ทหารมารุมสังหารได้แต่เฮกเตอร์ก็มีเกียรติแห่งนักรบ จึงลงมารบร่วมกับเฮกเตอร์ตัวต่อตัว สุดท้ายเฮกเตอร์ เสียหลักสะดุดก้อนหินเฮกเตอร์ได้จังหวะจึงเข้าสังหารเฮกเตอร์จนเสียชีวิต ในช่วงเวลาที่ยาวนานของการสู้รบกรีกมิอาจที่จะฝ่ากำแพงของทรอยได้เลย กรีกจึงแสร้งทำว่ายอมแพ้และสร้างม้าไม้ขนาดมหึมามาตั้งไว้หน้าเมือง ชาวทรอยเห็นดังนั้นนึกว่ากรีกยอมแพ้ จึงลากม้าไม้นั้นเข้าเมือง แต่หารู้ไม่ว่าภายในม้าไม้นั้นเต็มไปด้วยทหารจำนวนมาก ครั้นตกดึกทหารที่อยู่ภายในก็ออกมาเปิดประตูให้ทหารกรีกเข้าไปภายในเมืองทรอยได้สำเร็จ เมืองทรอยจึงแตกในที่สุด ท้ายที่สุดชาวทรอยได้ไปสร้างจักรวรรดิแห่งใหม่นั่นคือ[[จักรวรรดิโรมัน]]นั่นเองและ[[จักรวรรดิโรมัน]]ก็จึงย้อนกลับมาตีทรอยแตก
สมัยเฮลลาดิคหมายถึงกรีกช่วงยุคสัมฤทธิ์ เป็นอารยธรรมโบราณที่ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งของวิทยาการความรู้ต่างๆ ซึ่งนักวิชาการบางฝ่ายก็เรียกว่า วัฒนธรรมเฮลลาดิค ({{lang-en|Helladic Culture}}) เพราะมองว่ายังมิใช่ช่วงที่เจริญมากพอ ช่วงเวลานั้นเองยังมี[[กรุงทรอย]]ที่ขณะนั้นยังไม่ล้มสลายอยู่ด้วยตามตำนานและเกิด[[สงครามกรุงทรอย]]โดยในตอนนั้น[[ทรอย]]มี นักรบที่แกร่งกล้านามว่า [[เฮกเตอร์]] ส่วนนักรบของ[[กรีก]]คือ [[อคิลลีส]] โดยทั้งสองสู้รบเป็นเวลายาวนาน อคิลลีสได้ท้าดวลกับเฮกเตอร์หน้ากรุงทรอย เฮกเตอร์จะสั่งให้ทหารมารุมสังหารก็ได้ แต่เฮกเตอร์ก็มีเกียรติแห่งนักรบ จึงลงมารบร่วมกับเฮกเตอร์ตัวต่อตัว สุดท้ายเฮกเตอร์ เสียหลักสะดุดก้อนหินอคิลลิสได้จังหวะจึงเข้าสังหารเฮกเตอร์จนเสียชีวิต ในช่วงเวลาที่ยาวนานของการสู้รบกรีกมิอาจที่จะฝ่ากำแพงของทรอยได้เลย กรีกจึงแสร้งทำว่ายอมแพ้และสร้างม้าไม้ขนาดมหึมามาตั้งไว้หน้าเมือง ชาวทรอยเห็นดังนั้นนึกว่ากรีกยอมแพ้ จึงลากม้าไม้นั้นเข้าเมือง แต่หารู้ไม่ว่าภายในม้าไม้นั้นเต็มไปด้วยทหารจำนวนมาก ครั้นตกดึกทหารที่อยู่ภายในก็ออกมาเปิดประตูให้ทหารกรีกเข้าไปภายในเมืองทรอยได้สำเร็จ เมืองทรอยจึงแตกในที่สุด ท้ายที่สุดชาวทรอยได้ไปสร้างจักรวรรดิแห่งใหม่นั่นคือ[[จักรวรรดิโรมัน]] และ[[จักรวรรดิโรมัน]]ก็จึงย้อนกลับมาตีทรอยแตก


<!--
<!--
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
* [[อารยธรรมมิโนอัน]]
* [[อารยธรรมมิโนอัน]]


== ดูเพิ่ม ==
* [[อารยธรรมมิโนอัน]]


{{บทความเกี่ยวกับกรีซโบราณ}}
{{บทความเกี่ยวกับกรีซโบราณ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:30, 15 มิถุนายน 2555

ประวัติศาสตร์กรีซ
Coat of Arms of Greece
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของบทความที่เกี่ยวกับ
ประเทศกรีซ

กรีซยุคสำริด
อารยธรรมเฮลลาดิค
อารยธรรมซิคละดีส
อารยธรรมไมนอส
อารยธรรมไมซีนี
กรีซโบราณ
กรีซยุคมืด
กรีซยุคอาร์เคอิก
กรีซยุคคลาสสิก
กรีซยุคเฮลเลนิสติก
กรีซยุคโรมัน
กรีซยุคกลาง
กรีซยุคไบแซนไทน์
กรีซยุคฟรังโคคราเชีย
กรีซยุคออตโตมัน
กรีซยุคใหม่
สงครามประกาศเอกราชกรีซ
ราชอาณาจักรกรีซ
สาธารณรัฐเฮลเลนิกที่ 2
คณะการปกครอง 4 สิงหาคม
กรีซยุคยึดครองโดยอักษะ
สงครามกลางเมืองกรีซ
กรีซยุคปกครองโดยทหาร ค.ศ. 1967-1974
สาธารณรัฐเฮลเลนิกที่ 3
ประวัติศาสตร์แบ่งตามหัวข้อ

สถานีย่อยกรีซ

สมัยเฮลลาดิค (อังกฤษ: Helladic period) เป็นวลีโบราณคดีสมัยใหม่ที่หมายถึงสมัยต่างๆของวัฒนธรรมของแผ่นดินใหญ่กรีซโบราณระหว่างยุคสำริด วลีที่ใช้กันโดยทั่วไปในด้านโบราณคดี และ ประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยามีวัตถุประสงค์ในการใช้ประกอบกับคำสองคำ ไซคลาดิคที่หมายถึงช่วงเวลาใกล้เคียงกันที่พาดพิงถึงยุคสำริดของอีเจียน และ มิโนอัน ที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมของครีต

สมัยเฮลลาดิคโดยทั่วไปหมายถึงเครื่องปั้นดินเผาและระบบการระบุเวลาสร้าง เครื่องปั้นดินเผาไม่ว่าจะที่ใดตามปกติแล้วจัดแบ่งออกเป็นสมัยต้น กลาง และปลายจากรูปทรงและเทคนิคที่ใช้ในการสร้างงาน ระบบดังกล่าวทำให้สามารถทำการลำดับเวลาสถานที่ได้อย่างมีระบบ

การระบุเวลาที่แท้จริงเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่ควรจะใช้เมื่อทำได้ แต่การระบุเวลาเชิงสัมพัทธ์เป็นวิธีที่ใช้ก่อนที่จะมีการระบุเวลาโดยวิธีการคำนวณอายุโดยคาร์บอน การขุดค้นทางโบราณคดีของสิ่งของที่เกี่ยวกับกรีซก่อนประวัติศาสตร์จึงมักจะใช้การระบุเวลาสัมพัทธ์โดยลักษณะของเครื่องปั้นดินเผา

คำว่า "เฮลลาดิค" "ไซคลาดิค" และ "มิโนอัน" หมายถึงสถานที่ของที่มา ฉะนั้น สิ่งของจากมิโนอันสมัยกลางจึงอาจจะพบได้ที่ไซคลาดีส แต่ไม่ถือว่าเป็นไซคลาดีสสมัยกลาง การจัดระบบดังกล่าวมักจะไม่เหมาะกับบริเวณรอบทะเลอีเจียน เช่นเครื่องปั้นดินเผาลว้านเป็นต้นที่เลียนแบบเครื่องปั้นดินเผาเฮลลาดิคหรือมิโนอัน และผลิตในท้องถิ่น

สมัยเฮลลาดิคหมายถึงกรีกช่วงยุคสัมฤทธิ์ เป็นอารยธรรมโบราณที่ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งของวิทยาการความรู้ต่างๆ ซึ่งนักวิชาการบางฝ่ายก็เรียกว่า วัฒนธรรมเฮลลาดิค (อังกฤษ: Helladic Culture) เพราะมองว่ายังมิใช่ช่วงที่เจริญมากพอ ช่วงเวลานั้นเองยังมีกรุงทรอยที่ขณะนั้นยังไม่ล้มสลายอยู่ด้วยตามตำนานและเกิดสงครามกรุงทรอยโดยในตอนนั้นทรอยมี นักรบที่แกร่งกล้านามว่า เฮกเตอร์ ส่วนนักรบของกรีกคือ อคิลลีส โดยทั้งสองสู้รบเป็นเวลายาวนาน อคิลลีสได้ท้าดวลกับเฮกเตอร์หน้ากรุงทรอย เฮกเตอร์จะสั่งให้ทหารมารุมสังหารก็ได้ แต่เฮกเตอร์ก็มีเกียรติแห่งนักรบ จึงลงมารบร่วมกับเฮกเตอร์ตัวต่อตัว สุดท้ายเฮกเตอร์ เสียหลักสะดุดก้อนหินอคิลลิสได้จังหวะจึงเข้าสังหารเฮกเตอร์จนเสียชีวิต ในช่วงเวลาที่ยาวนานของการสู้รบกรีกมิอาจที่จะฝ่ากำแพงของทรอยได้เลย กรีกจึงแสร้งทำว่ายอมแพ้และสร้างม้าไม้ขนาดมหึมามาตั้งไว้หน้าเมือง ชาวทรอยเห็นดังนั้นนึกว่ากรีกยอมแพ้ จึงลากม้าไม้นั้นเข้าเมือง แต่หารู้ไม่ว่าภายในม้าไม้นั้นเต็มไปด้วยทหารจำนวนมาก ครั้นตกดึกทหารที่อยู่ภายในก็ออกมาเปิดประตูให้ทหารกรีกเข้าไปภายในเมืองทรอยได้สำเร็จ เมืองทรอยจึงแตกในที่สุด ท้ายที่สุดชาวทรอยได้ไปสร้างจักรวรรดิแห่งใหม่นั่นคือจักรวรรดิโรมัน และจักรวรรดิโรมันก็จึงย้อนกลับมาตีทรอยแตก


ดูเพิ่ม