ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
ลบภาพ "Kingdom_of_Nepal.png", ซึ่งถูกลบที่คอมมอนส์โดย MBisanz เพราะ Per commons:Commons:Deletion requests/File:Kingdom of Nepal.png
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
| พระอิสริยยศ = พระมหากษัตริย์แห่ง[[ราชอาณาจักรเนปาล]]
| พระอิสริยยศ = พระมหากษัตริย์แห่ง[[ราชอาณาจักรเนปาล]]
| พระราชบิดา = [[สมเด็จพระราชาธิบดีมเหนทรวีรวิกรมศาหเทวะ]]
| พระราชบิดา = [[สมเด็จพระราชาธิบดีมเหนทรวีรวิกรมศาหเทวะ]]
| พระราชมารดา = มกุฎราชกุมารีอินทรราชยลักษมีรานา
| พระราชมารดา = มกุฎราชกุมารีอินทรราชยลักษมีราณา
| พระบรมราชินี = [[สมเด็จพระราชินีโกมลราชยลักษมีเทวีศาหะ]]
| พระบรมราชินี = [[สมเด็จพระราชินีโกมลราชยลักษมีเทวีศาหะ]]
| พระราชสวามี =
| พระราชสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดา = [[เจ้าฟ้าชายปาราสวีรวิกรมศาหเทวะ มกุฎราชกุมารแห่งเนปาล|มกุฏราชกุมารปาราสวีรวิกรมศาหเทวะ]] <br /> [[เจ้าหญิงพีรณาราชยลักษมีเทวีสิงห์]]
| พระราชโอรส/ธิดา = [[เจ้าชายปารัสวีรวิกรมศาหเทวะ มกุฎราชกุมารแห่งเนปาล|มกุฏราชกุมารปารัสวีรวิกรมศาหเทวะ]] <br /> [[เจ้าหญิงพีรณาราชยลักษมีเทวีสิงห์]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ศาห์]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ศาห์]]
| ทรงราชย์ = [[7 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2493]] (ครั้งที่ 1) <br />[[4 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2544]] (ครั้งที่ 2)
| ทรงราชย์ = [[7 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2493]] (ครั้งที่ 1) <br />[[4 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2544]] (ครั้งที่ 2)
บรรทัด 27: บรรทัด 27:
|}
|}


'''สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ''' ([[ภาษาเนปาล|เนปาลี:]] ज्ञानेन्द्र वीर बिक्रम शाहदेव, Jñānendra Vīra Vikrama Śāhadeva; ชฺาเนนฺทฺร วีร พิกฺรม ศาหเทว ออกเสียง กิเนนดรา บีร์ บิกรัม ชาห์ เทพ<ref>[http://www.nsru.ac.th/oldnsru/comcenter1/60th/sixtieth/Nepal_K.pdf พระราชอาคันตุกะ]</ref>) หรือ '''สมเด็จพระราชาธิบดีคยาเนนทรพีรพิกรมศาหเทว์''' (Gyanendra Bir Bikram Shah Dev; สื่อในภาษาไทยนิยมเขียนเป็น "คยาเนนทรา" หรือ "กยาเนนทรา") เป็น[[พระมหากษัตริย์แห่งเนปาล|พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรเนปาล]]ในราชวงศ์ศาห์ ทรงเป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระราชาธิบดีมเหนทระ วีระ วิกรม ศาหเทวะ]] กับมกุฎราชกุมารีอินทราราชยลักษมีรานา เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ [[7 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2490]] ณ [[กาฐมาณฑุ|กรุงกาฐมาณฑุ]] [[ประเทศเนปาล]]
'''สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ''' ([[ภาษาเนปาล|เนปาลี:]] ज्ञानेन्द्र वीर बिक्रम शाहदेव, Jñānendra Vīra Vikrama Śāhadeva; ชฺาเนนฺทฺร วีร พิกฺรม ศาหเทว ออกเสียง กิเนนดรา บีร์ บิกรัม ชาห์ เทพ<ref>[http://www.nsru.ac.th/oldnsru/comcenter1/60th/sixtieth/Nepal_K.pdf พระราชอาคันตุกะ]</ref>) หรือ '''สมเด็จพระราชาธิบดีคยาเนนทรพีรพิกรมศาหเทว์''' (Gyanendra Bir Bikram Shah Dev; สื่อในภาษาไทยนิยมเขียนเป็น "คยาเนนทรา" หรือ "กยาเนนทรา") เป็น[[พระมหากษัตริย์แห่งเนปาล|พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรเนปาล]]ในราชวงศ์ศาห์ ทรงเป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระราชาธิบดีมเหนทระ วีระ วิกรม ศาหเทวะ]] กับมกุฎราชกุมารีอินทราราชยลักษมีราณา เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ [[7 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2490]] ณ [[กาฐมาณฑุ|กรุงกาฐมาณฑุ]] [[ประเทศเนปาล]]


== เสด็จขึ้นครองราชย์ ==
== เสด็จขึ้นครองราชย์ ==
บรรทัด 36: บรรทัด 36:
ทรงอภิเษกสมรสกับ[[สมเด็จพระราชินีโกมลราชยลักษมีเทวีศาหะ]] เมื่อปีพุทธศักราช 2513 มีพระราชโอรส 1 พระองค์ และพระราชธิดา 1 พระองค์ ได้แก่
ทรงอภิเษกสมรสกับ[[สมเด็จพระราชินีโกมลราชยลักษมีเทวีศาหะ]] เมื่อปีพุทธศักราช 2513 มีพระราชโอรส 1 พระองค์ และพระราชธิดา 1 พระองค์ ได้แก่


# [[เจ้าฟ้าชายปาราสวีรวิกรมศาหเทวะ มกุฎราชกุมารแห่งเนปาล|มกุฏราชกุมารปาราสวีรวิกรมศาหเทวะ]]<ref>[http://www.theroyalforums.com/forums/f186/royal-family-of-nepal-shah-dynasty-434.html Royal Family Of Nepal - Shah dynasty]</ref> (ประสูติ [[30 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1971]])
# [[เจ้าชายปารัสวีรวิกรมศาหเทวะ มกุฎราชกุมารแห่งเนปาล|มกุฏราชกุมารปารัสวีรวิกรมศาหเทวะ]]<ref>[http://www.theroyalforums.com/forums/f186/royal-family-of-nepal-shah-dynasty-434.html Royal Family Of Nepal - Shah dynasty]</ref> (ประสูติ [[30 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1971]])
# [[เจ้าหญิงพีรณาราชยลักษมีเทวีสิงห์]] (ประสูติ [[20 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1978]])
# [[เจ้าหญิงพีรณาราชยลักษมีเทวีสิงห์]] (ประสูติ [[20 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1978]])


บรรทัด 43: บรรทัด 43:


== ทรงถูกถอดถอน ==
== ทรงถูกถอดถอน ==
เมื่อมีการฟื้นฟูรัฐสภาตามระบอบประชาธิปไตยอีกครั้งในเดือน[[เมษายน]] [[พ.ศ. 2549]] พระองค์จึงทรงถูกลดพระราชอำนาจและพระราชสถานะลง<ref>[http://news.sanook.com/world/world_94256.php ราชวงศ์เนปาลปัดกษัตริย์สละบัลลังก์] เดลินิวส์ วันศุกร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 11:49 น.</ref> โดยก่อนการสละราชบัลลังก์ ก็ได้มีกระแสข่าวเกี่ยวการสละราชบัลลังก์และเสด็จไปประทับต่างประเทศ โดยจะยกราชสมบัติแก่เจ้าฟ้าชายหริทเยนทรา พระราชนัดดา เนื่องจากทรงไม่พอพระทัยในตัวมกุฎราชกุมารมากนัก<ref>[http://news.sanook.com/world/world_148547.php ล้มราชวงศ์เนปาล] ข่าวสด วันพฤหัสบดีที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2550 02:01 น.</ref> และทรงสละราชสมบัติอย่างเป็นทางการในวันที่ [[28 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2551]] เนื่องจาก[[สภาร่างรัฐธรรมนูญแห่งเนปาล]] (Constituent Assembly of Nepal) ได้ลงมติเป็นเอกฉันท์ให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศจากรูปแบบ[[ราชอาณาจักร]]มาเป็น[[สาธารณรัฐประชาธิปไตย]]
เมื่อมีการฟื้นฟูรัฐสภาตามระบอบประชาธิปไตยอีกครั้งในเดือน[[เมษายน]] [[พ.ศ. 2549]] พระองค์จึงทรงถูกลดพระราชอำนาจและพระราชสถานะลง<ref>[http://news.sanook.com/world/world_94256.php ราชวงศ์เนปาลปัดกษัตริย์สละบัลลังก์] เดลินิวส์ วันศุกร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 11:49 น.</ref> โดยก่อนการสละราชบัลลังก์ ก็ได้มีกระแสข่าวเกี่ยวการสละราชบัลลังก์และเสด็จไปประทับต่างประเทศ โดยจะยกราชสมบัติแก่เจ้าชายหริทเยนทรา พระราชนัดดา เนื่องจากทรงไม่พอพระทัยในตัวมกุฎราชกุมารมากนัก<ref>[http://news.sanook.com/world/world_148547.php ล้มราชวงศ์เนปาล] ข่าวสด วันพฤหัสบดีที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2550 02:01 น.</ref> และทรงสละราชสมบัติอย่างเป็นทางการในวันที่ [[28 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2551]] เนื่องจาก[[สภาร่างรัฐธรรมนูญแห่งเนปาล]] (Constituent Assembly of Nepal) ได้ลงมติเป็นเอกฉันท์ให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศจากรูปแบบ[[ราชอาณาจักร]]มาเป็น[[สาธารณรัฐประชาธิปไตย]]


== เสด็จเยือนไทย ==
== เสด็จเยือนไทย ==
สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนปาล จากข้อมูลที่ผ่านมาไม่ปรากฏหลักฐาน การเสด็จพระราชดำเนินเยือนราชอาณาจักรไทยแต่อย่างใด ขณะที่ สมเด็จพระราชินีโกมาลราชย์ ลักษมี เทวี ชาห์ เคยเสด็จพระราชดำเนินเยือนราชอาณาจักรไทยพร้อมด้วยพระราชธิดาเป็นการส่วนพระองค์ระหว่างวันที่ 26 กรกฎาคม – 2 สิงหาคม พุทธศักราช 2547 และในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี สมเด็จพระราชาธิบดีและสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนปาล จะเสด็จฯเยือนราชอาณาจักรไทยในฐานะแขกของรัฐบาลเป็นครั้งแรก แต่ก็ไม่ได้เสด็จเยือนราชอาณาจักรไทย อันเนื่องมาจากสาเหตุ เกิดสงครามกลางเมืองและความไม่สงบ ปัญหาทางการเมืองในเนปาล
สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนปาล จากข้อมูลที่ผ่านมาไม่ปรากฏหลักฐาน การเสด็จพระราชดำเนินเยือนราชอาณาจักรไทยแต่อย่างใด ขณะที่ สมเด็จพระราชินีโกมลราชย์ ลักษมี เทวี ชาห์ เคยเสด็จพระราชดำเนินเยือนราชอาณาจักรไทยพร้อมด้วยพระราชธิดาเป็นการส่วนพระองค์ระหว่างวันที่ 26 กรกฎาคม – 2 สิงหาคม พุทธศักราช 2547 และในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี สมเด็จพระราชาธิบดีและสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนปาล จะเสด็จฯเยือนราชอาณาจักรไทยในฐานะแขกของรัฐบาลเป็นครั้งแรก แต่ก็ไม่ได้เสด็จเยือนราชอาณาจักรไทย อันเนื่องมาจากสาเหตุ เกิดสงครามกลางเมืองและความไม่สงบ ปัญหาทางการเมืองในเนปาล


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 73: บรรทัด 73:
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ศาหะ]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ศาหะ]]
| ปี = [[28 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2551]]-ปัจจุบัน
| ปี = [[28 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2551]]-ปัจจุบัน
| ถัดไป = ปัจจุบัน<br /> <small>[[เจ้าฟ้าชายปาราสวีรวิกรมศาหเทวะ มกุฎราชกุมารแห่งเนปาล|มกุฏราชกุมารปาราสวีรวิกรมศาหเทวะ]]</small>
| ถัดไป = ปัจจุบัน<br /> <small>[[เจ้าชายปารัสวีรวิกรมศาหเทวะ มกุฎราชกุมารแห่งเนปาล|มกุฏราชกุมารปารัสวีรวิกรมศาหเทวะ]]</small>
}}
}}
{{จบกล่อง}}
{{จบกล่อง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:10, 13 มิถุนายน 2555

สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาล
ไฟล์:King Gyanendra of Nepal.jpg
พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเนปาล
ครองราชย์7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 (ครั้งที่ 1)
4 มิถุนายน พ.ศ. 2544 (ครั้งที่ 2)
รัชสมัยครั้งที่ 1 : 5 ปี (พ.ศ. 2493 - พ.ศ. 2498)
ครั้งที่ 2 : 8 ปี (พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2551)
รัชกาลก่อนหน้าสมเด็จพระราชาธิบดีตริภุวนพีรพิกรมศาหะ (ก่อน พ.ศ. 2493)
มกุฎราชกุมารทิเปนทระ (พ.ศ. 2544)
รัชกาลถัดไปพ.ศ. 2498 : สมเด็จพระราชาธิบดีมเหนทรพีรพิกรมศาหเทวะ
พ.ศ. 2551 : สิ้นสุดระบอบกษัตริย์
ประสูติ7 กรกฎาคม พ.ศ. 2490
กรุงกาฐมาณฑุ ราชอาณาจักรเนปาล
พระบรมราชินีสมเด็จพระราชินีโกมลราชยลักษมีเทวีศาหะ
พระราชบุตรมกุฏราชกุมารปารัสวีรวิกรมศาหเทวะ
เจ้าหญิงพีรณาราชยลักษมีเทวีสิงห์
สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ
ราชวงศ์ราชวงศ์ศาห์
พระราชบิดาสมเด็จพระราชาธิบดีมเหนทรวีรวิกรมศาหเทวะ
พระราชมารดามกุฎราชกุมารีอินทรราชยลักษมีราณา

สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ (เนปาลี: ज्ञानेन्द्र वीर बिक्रम शाहदेव, Jñānendra Vīra Vikrama Śāhadeva; ชฺาเนนฺทฺร วีร พิกฺรม ศาหเทว ออกเสียง กิเนนดรา บีร์ บิกรัม ชาห์ เทพ[1]) หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีคยาเนนทรพีรพิกรมศาหเทว์ (Gyanendra Bir Bikram Shah Dev; สื่อในภาษาไทยนิยมเขียนเป็น "คยาเนนทรา" หรือ "กยาเนนทรา") เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรเนปาลในราชวงศ์ศาห์ ทรงเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีมเหนทระ วีระ วิกรม ศาหเทวะ กับมกุฎราชกุมารีอินทราราชยลักษมีราณา เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2490กรุงกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล

เสด็จขึ้นครองราชย์

พระองค์ได้เสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเนปาล 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 ถึงวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2494 ครั้งที่สองคือเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2544 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญตามระบอบประชาธิปไตย ทรงเป็นนายกรัฐมนตรีและผู้บัญชาการทหารสูงสุด หลังเกิดเหตุการณ์สังหารหมู่พระราชวงศ์เนปาล ท่ามกลางข้อกังขาว่าพระองค์อาจมีส่วนร่วมในเหตุการณ์ดังกล่าว

ทรงอภิเษกสมรส

ทรงอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชินีโกมลราชยลักษมีเทวีศาหะ เมื่อปีพุทธศักราช 2513 มีพระราชโอรส 1 พระองค์ และพระราชธิดา 1 พระองค์ ได้แก่

  1. มกุฏราชกุมารปารัสวีรวิกรมศาหเทวะ[2] (ประสูติ 30 ธันวาคม ค.ศ. 1971)
  2. เจ้าหญิงพีรณาราชยลักษมีเทวีสิงห์ (ประสูติ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1978)

ทรงยึดอำนาจจากรัฐบาล

ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทร์ได้ทรงยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลเนปาล โดยมีพระราชโองการให้รัฐสภาตามระบอบประชาธิปไตยสิ้นสุดลง และทรงปกครองประเทศด้วยพระองค์เอง ทำให้ทรงต้องเผชิญกระแสต่อต้านจากในประเทศอย่างรุนแรง

ทรงถูกถอดถอน

เมื่อมีการฟื้นฟูรัฐสภาตามระบอบประชาธิปไตยอีกครั้งในเดือนเมษายน พ.ศ. 2549 พระองค์จึงทรงถูกลดพระราชอำนาจและพระราชสถานะลง[3] โดยก่อนการสละราชบัลลังก์ ก็ได้มีกระแสข่าวเกี่ยวการสละราชบัลลังก์และเสด็จไปประทับต่างประเทศ โดยจะยกราชสมบัติแก่เจ้าชายหริทเยนทรา พระราชนัดดา เนื่องจากทรงไม่พอพระทัยในตัวมกุฎราชกุมารมากนัก[4] และทรงสละราชสมบัติอย่างเป็นทางการในวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 เนื่องจากสภาร่างรัฐธรรมนูญแห่งเนปาล (Constituent Assembly of Nepal) ได้ลงมติเป็นเอกฉันท์ให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศจากรูปแบบราชอาณาจักรมาเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย

เสด็จเยือนไทย

สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนปาล จากข้อมูลที่ผ่านมาไม่ปรากฏหลักฐาน การเสด็จพระราชดำเนินเยือนราชอาณาจักรไทยแต่อย่างใด ขณะที่ สมเด็จพระราชินีโกมลราชย์ ลักษมี เทวี ชาห์ เคยเสด็จพระราชดำเนินเยือนราชอาณาจักรไทยพร้อมด้วยพระราชธิดาเป็นการส่วนพระองค์ระหว่างวันที่ 26 กรกฎาคม – 2 สิงหาคม พุทธศักราช 2547 และในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี สมเด็จพระราชาธิบดีและสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนปาล จะเสด็จฯเยือนราชอาณาจักรไทยในฐานะแขกของรัฐบาลเป็นครั้งแรก แต่ก็ไม่ได้เสด็จเยือนราชอาณาจักรไทย อันเนื่องมาจากสาเหตุ เกิดสงครามกลางเมืองและความไม่สงบ ปัญหาทางการเมืองในเนปาล

อ้างอิง

  1. พระราชอาคันตุกะ
  2. Royal Family Of Nepal - Shah dynasty
  3. ราชวงศ์เนปาลปัดกษัตริย์สละบัลลังก์ เดลินิวส์ วันศุกร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 11:49 น.
  4. ล้มราชวงศ์เนปาล ข่าวสด วันพฤหัสบดีที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2550 02:01 น.
ก่อนหน้า สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาล ถัดไป
สมเด็จพระราชาธิบดีตริภุวนพีรพิกรมศาหะ พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเนปาล
(ครั้งที่ 1)

(พ.ศ. 2493 - พ.ศ. 2498)
สมเด็จพระราชาธิบดีมเหนทรพีรพิกรมศาหเทวะ
สมเด็จพระราชาธิบดีทิเปนทรพีรพิกรมศาหเทวะ พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเนปาล
(ครั้งที่ 2)

(พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2551)
ยกเลิกระบอบกษัตริย์
ยกเลิกระบอบกษัตริย์ ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์เนปาล
(28 พฤษภาคม พ.ศ. 2551-ปัจจุบัน)
ปัจจุบัน
มกุฏราชกุมารปารัสวีรวิกรมศาหเทวะ