ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NongBot (คุย | ส่วนร่วม)
แก้คำด้วยบอต
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
สิ่งที่ประชาชนไทยรู้จักดีที่สุดที่เกี่ยวข้องกับสมาคมสถาปนิกสยาม ได้แก่งานสถาปนิกประจำปี หรือ "[[งานอาษา]]" โดยจะจัดขึ้นเป็นประจำทุกๆ ปี ในช่วงประมาณต้นเดือนพฤษภาคม ภายในงานจะมีกลุ่มสถาปนิกอาสาที่เรียกกันว่า "[[หมอบ้าน]]" ซึ่งจะให้คำปรึกษาปัญหาการก่อสร้างฟรี มีงานแสดงผลงานของนิสิตนักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์จากทุกสถาบัน และผลงานของสำนักงานสถาปนิกชั้นนำของประเทศ มีการสัมนาเกี่ยวกับวิชาชีพโดยบุคคลสำคัญทั้งในและนอกวงการสถาปัตยกรรม ทั้งจากภายในและต่างประเทศ และสิ่งที่ได้รับความสนใจที่สุดคือ งานแสดงวัสดุก่อสร้าง โดยบริษัทผลิตและจำหน่ายวัสดุก่อสร้างชั้นนำของประเทศมารวมตัวกัน
สิ่งที่ประชาชนไทยรู้จักดีที่สุดที่เกี่ยวข้องกับสมาคมสถาปนิกสยาม ได้แก่งานสถาปนิกประจำปี หรือ "[[งานอาษา]]" โดยจะจัดขึ้นเป็นประจำทุกๆ ปี ในช่วงประมาณต้นเดือนพฤษภาคม ภายในงานจะมีกลุ่มสถาปนิกอาสาที่เรียกกันว่า "[[หมอบ้าน]]" ซึ่งจะให้คำปรึกษาปัญหาการก่อสร้างฟรี มีงานแสดงผลงานของนิสิตนักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์จากทุกสถาบัน และผลงานของสำนักงานสถาปนิกชั้นนำของประเทศ มีการสัมนาเกี่ยวกับวิชาชีพโดยบุคคลสำคัญทั้งในและนอกวงการสถาปัตยกรรม ทั้งจากภายในและต่างประเทศ และสิ่งที่ได้รับความสนใจที่สุดคือ งานแสดงวัสดุก่อสร้าง โดยบริษัทผลิตและจำหน่ายวัสดุก่อสร้างชั้นนำของประเทศมารวมตัวกัน


งานสถาปนิกประจำปีดังกล่าว จะเรียกแตกต่างกันออกไปในแต่ละปี โดยใช้ปีพุทธศักราชในชื่อภาษาไทย (เช่น ''งานสถาปนิก ๔๙'') และใช้คริสต์ศักราชในชื่อภาษาอังกฤษ (เช่น ''Architect'06'')
งานสถาปนิกประจำปีดังกล่าว จะเรียกแตกต่างกันออกไปในแต่ละปี โดยใช้ปีพุทธศักราชในชื่อภาษาไทย (เช่น ''งานสถาปนิก ๔๙'') และใช้คริสต์ศักราชในชื่อภาษาอังกฤษ (เช่น ''Architect'07'')

The Association of Siamese Architects Under Royal Patronage - ASA

The Association of Siamese Architects Under Royal Patronage, or so called “ASA,” was founded in 1934 as a center for Thai architects and architectural-related colleagues. Throughout the years, ASA strongly supports the growing of Thai architectural standards, the promotion of Architect profession, and the development of Thai communities through these objectives:

1. Participating in the development of architectural values, sustainable environment, and national civilizations.

2. Supporting the unity of Thai architects, ASA members and its networking to maintain the cooperation in activities dedicating to architect profession and society.

3. Providing consultancy in architectural field and ASA benefits to ASA members and communities.

4. Enhancing and supporting architectural and architectural-related studies and researches for the continuing advancement of the profession.

5. Working with national and international institutions, organizations and government agencies in architectural activities and profession promotion.

6. Developing and monitoring architectural practices and ethics of architects.

7. Creating and developing rules and regulations of architectural practices and the certification of architectural standards.

The ASA members have participated and worked with their communities in creating the valuable of the profession as well as dedicating to the development of healthy and sustainable environment of the society. Major activities and events in the field of architecture were created to accomplish the objectives of ASA.


== สมาชิก ==
== สมาชิก ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:12, 21 กุมภาพันธ์ 2550

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศไทยและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
??? บทความนี้ยังไม่ได้รับการพิจารณาตามการจัดระดับการเขียนบทความ
สัญลักษณ์สมาคมสถาปนิกสยาม
สัญลักษณ์สมาคมสถาปนิกสยาม

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ (The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage of His Majesty the King) หรือ อาษา (ASA) เป็นสมาคมของบุคคลในวิชาชีพสถาปนิกและผู้ที่สนใจในงานสถาปัตยกรรมของประเทศไทย โดยเป็นหนึ่งในสี่สมาคมวิชาชีพออกแบบสถาปัตยกรรม

สมาคมสถาปนิกสยาม เป็นองค์กรเอกชนที่มีลักษณะเป็นสมาคม ขึ้นตรงกับการควบคุมของกระทรวงวัฒนธรรม

หน้าที่

สมาคมสถาปนิกสยามมีบทบาทอย่างมากในการพัฒนาวงการวิชาชีพสถาปัตยกรรม ที่ทางด้านวิชาชีพและทางด้านวิชาการ โดยจะมีการทำงานใกล้ชิดกับ สภาสถาปนิก (Council of Thai Architects) ในเชิงของกฎหมายและกรอบการปฏิบัติวิชาชีพ ส่วนในด้านวิชาการก็จะมีการจัดพิมพ์เอกสารวิชาการและการจัดสัมนาวิชาการอยู่เสมอ นอกจากนี้ยังมีเว็บบอร์ดที่ใช้เป็นที่แลกเปลี่ยนความเห็นและความรู้โดยสมาชิก

งานอาษา

สิ่งที่ประชาชนไทยรู้จักดีที่สุดที่เกี่ยวข้องกับสมาคมสถาปนิกสยาม ได้แก่งานสถาปนิกประจำปี หรือ "งานอาษา" โดยจะจัดขึ้นเป็นประจำทุกๆ ปี ในช่วงประมาณต้นเดือนพฤษภาคม ภายในงานจะมีกลุ่มสถาปนิกอาสาที่เรียกกันว่า "หมอบ้าน" ซึ่งจะให้คำปรึกษาปัญหาการก่อสร้างฟรี มีงานแสดงผลงานของนิสิตนักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์จากทุกสถาบัน และผลงานของสำนักงานสถาปนิกชั้นนำของประเทศ มีการสัมนาเกี่ยวกับวิชาชีพโดยบุคคลสำคัญทั้งในและนอกวงการสถาปัตยกรรม ทั้งจากภายในและต่างประเทศ และสิ่งที่ได้รับความสนใจที่สุดคือ งานแสดงวัสดุก่อสร้าง โดยบริษัทผลิตและจำหน่ายวัสดุก่อสร้างชั้นนำของประเทศมารวมตัวกัน

งานสถาปนิกประจำปีดังกล่าว จะเรียกแตกต่างกันออกไปในแต่ละปี โดยใช้ปีพุทธศักราชในชื่อภาษาไทย (เช่น งานสถาปนิก ๔๙) และใช้คริสต์ศักราชในชื่อภาษาอังกฤษ (เช่น Architect'07)

The Association of Siamese Architects Under Royal Patronage - ASA

The Association of Siamese Architects Under Royal Patronage, or so called “ASA,” was founded in 1934 as a center for Thai architects and architectural-related colleagues. Throughout the years, ASA strongly supports the growing of Thai architectural standards, the promotion of Architect profession, and the development of Thai communities through these objectives:

1. Participating in the development of architectural values, sustainable environment, and national civilizations.

2. Supporting the unity of Thai architects, ASA members and its networking to maintain the cooperation in activities dedicating to architect profession and society.

3. Providing consultancy in architectural field and ASA benefits to ASA members and communities.

4. Enhancing and supporting architectural and architectural-related studies and researches for the continuing advancement of the profession.

5. Working with national and international institutions, organizations and government agencies in architectural activities and profession promotion.

6. Developing and monitoring architectural practices and ethics of architects.

7. Creating and developing rules and regulations of architectural practices and the certification of architectural standards.

The ASA members have participated and worked with their communities in creating the valuable of the profession as well as dedicating to the development of healthy and sustainable environment of the society. Major activities and events in the field of architecture were created to accomplish the objectives of ASA.

สมาชิก

การเข้าเป็นสมาชิกของสมาคมสถาปนิกสยาม ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้ที่ทำงานในวงการสถาปัตยกรรม ประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจในงานสถาปัตยกรรมสามารถเป็นสมาชิกได้

แหล่งข้อมูลอื่น